ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หินตะกอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 7:
เนื่องจากลักษณะที่หินตะกอนในประเทศไทยเรามักแสดงลักษณะชั้น (bed) เนื่องจากการตกตะกอนให้เห็นเด่นชัด จึงทำให้ในอดีตมีหลายท่านเรียกชื่อหินตะกอนเหล่านี้อีกอย่างหนึ่งว่า "หินชั้น" แต่ในปัจจุบันพบว่าการเรียกชื่อหินตะกอนว่าหินชั้นนั้น ไม่ค่อยเป็นที่นิยมสักเท่าไร ในทั่วไปนี้ให้ใช้ชื่อ "หินตะกอน" ในการเรียกชื่อหินตะกอนแทนคำว่า ''หินชั้น''
 
== ประเภทของหีตะกอนตะภาพทอดปรา ภูมิ ป้อม รอ XD :p ==
นักธรณีวิทยาจำแนกหินตะกอนตามลักษณะการเกิดออกเป็น 3 กลุ่มคือ
* หินตะกอนอนุภาค (Clastic rocks)
บรรทัด 17:
** [[หินเชิร์ต]] (Chert) หินตะกอนเนื้อแน่นแข็ง เกิดจากการตกผลึกใหม่ เนื่องจากน้ำพาสารละลายซิลิกาเข้าไปแล้วระเหยออก ทำให้เกิดผลึกซิลิกาแทนที่เนื้อหินเดิม หินเชิร์ตมักเกิดขึ้นใต้ท้องทะเล เนื่องจากแพลงตอนที่มีเปลือกเป็นซิลิกาตายลง เปลือกของมันจะจมลงทับถมกัน หินเชิร์ตจึงปะปนอยู่ในหินปูน
* หินตะกอนอินทรีย์ (Organic sedimentary rocks)
** [[ถ่านหิน]] (Coal) เกิดจากการทับถมของซากพืชที่ยังไม่เน่าเปื่อยไปหมดเนื่องจากสภาวะออกซิเจนต่ำ สภาวะเช่นนี้เกิดตามห้วยหนองคลองบึง ในแถบภูมิอากาศแบบเส้นศูนย์สูตร การทับถมทำให้เกิดการแรงกดดันที่จะระเหยขับไล่น้ำและสารละลายอื่น ๆ ออกไป ยิ่งมีปริมาณคาร์บอนมากขึ้นถ่านหินจะยิ่งมีสีดำ [[ลิกไนต์]] (Lignite) เป็นถ่านหินคุณภาพปานกลาง มีมากที่เหมืองแม่เมาะ จ. ลำปาง ทยายายนาย[[แอนทราไซต์]] (Anthracite) เป็นถ่านหินคุณภาพสูง ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ
 
[[หมวดหมู่:หินตะกอน]]