ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ กิติยากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<br /> using AWB
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| สี = tomato
| ภาพ = ไฟล์:หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์.jpg
| พระนาม = หม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์
| พระนามเต็ม = หม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์
| ฐานันดร = หม่อมเจ้า
| วันประสูติ = [[{{วันเกิด|2447|2|11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2446]]}}
| วันสิ้นชีพิตักษัย = [[18 มิถุนายน]] [[พ.ศ. {{วันตายและอายุ|2475]]|6|18|2446|2|11}}
| พระอิสริยยศ =
| พระบิดา = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์]]
| พระมารดา = [[หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา]]
| พระสวามี = [[สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ]] (พ.ศ. 2462-2463)<br /> [[หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร]]
| บุตร/ธิดา = [[หม่อมราชวงศ์อมราภินพ กิติยากร]] <br /> [[หม่อมราชวงศ์กิตินัดดา กิติยากร]] <br /> [[หม่อมราชวงศ์กิติอัจฉรา กิติยากร]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
|}}
 
'''หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์''' เป็นพระธิดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์]] ประสูติกับแต่[[หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา]] ประสูติเมื่อวันที่ [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2446]] (พ.ศ.แบบใหม่คือ 2447)<ref name=":039">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=นราธิปประพันธ์พงศ์, กรมพระ, 2404-2474, ผู้รวบรวม|ชื่อหนังสือ=บาญชีมหามกุฏราชสันตติวงศ์ พุทธศก 2468 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงรวบรวม|URL=|จังหวัด=กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่=โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร|ปี=พ.ศ. 2468|ISBN=|จำนวนหน้า=167}}</ref> สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ [[18 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] ที่[[ปารีส|กรุงปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]]
 
หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสโอภาศ รพีพัฒน์ทรงเป็นชายาองค์ที่ 2 ใน[[สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ]] หลังทรงหย่าร้างกับ [[หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก]] แต่[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มิยอม ไม่ทรงพระราชทานพระราชานุญาตให้ทรงทำการเสกสมรส
 
หลังจากสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคต ใน[[พินัยกรรม]] ทรงมอบทรัพย์สินมรดกทุกอย่างให้หม่อมเจ้าชวลิตโอภาสโอภาศเพียงผู้เดียว ทรงมอบพระโอรสให้อยู่ในความดูแลของท่านหญิงหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ และจะมีสิทธิ์ในมรดกก็ในต่อเมื่อท่านหญิงหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศ สิ้นชีพิตักษัยแล้วเท่านั้น
 
พระเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ทรงเห็นด้วยกับพินัยกรรม ความไม่ทรงเห็นด้วยสะท้อนมาจาก ทรงยับยั้งพินัยกรรมไม่ให้มีผลบังคับใช้ ดังนั้นแทนที่หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสโอภาศ จะเข้าครอบครองทรัพย์สินทั้งหมด ก็กลายเป็นว่าทั้ง[[หม่อมคัทริน|แคทยา]]พระเจ้าวรวงศ์เธอ ท่านหญิงและ[[พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] หม่อมเจ้าชวลิตโอภาศและหม่อมคัทริน ต่างได้รับเงินปันผลจากผลประโยชน์ของกองมรดก แต่มรดกส่วนใหญ่ยังอยู่เฉยๆ ต่อมาคือทรงเรียกเรียกคืน[[วังปารุสกวัน]]กลับคืนมาเป็นของ[[พระมหากษัตริย์]] ส่วนหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสโอภาศต้องย้ายกลับไปพำนักที่ประทับยังวังที่ท่าเตียน ซึ่งเคยอยู่มาประทับก่อนจะได้เป็นชายา
 
หนึ่งปีต่อมา เมื่อหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสโอภาศจะเสกสมรสใหม่กับ[[หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร]] พระเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงเห็นชอบที่จะให้หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาสโอภาศคืนมรดกกลับไปให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เสียก่อน จึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เสกสมรสได้
 
พระองค์ทรงหม่อมเจ้าชวลิตโอภาศมีโอรส - ธิดากับ[[หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร]]ดังนี้
 
พระองค์ทรงมีโอรส - ธิดากับ[[หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร]]ดังนี้
* หม่อมราชวงศ์อมราภินพ กิติยากร
* หม่อมราชวงศ์กิตินัดดา กิติยากร