ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคันธารราฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kraiwitlee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
แก้เดียวคนเข้าใจผิด เพราะของอินโดไม่ใช่ศิลปะแบบทวารวดี แต่เป็นศิลาเหมือนกัน
บรรทัด 11:
|material = แกะสลักจากศิลาเขียว
|place_of_enshrined = พระวิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
|important = เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียวขนาดใหญ่ที่สุดองค์เดียวของโลก ที่ยังมีสภาพสมบูรณ์และหลงเหลืออยู่ จากสมัยทวาราวดี เป็น 1 ใน 5 องค์ของพระพุทธรูปศิลาในประเทศไทยที่สันนิษฐานว่าสร้างในยุคเดียวกัน แต่เป็นองค์เดียวที่มีสีเขียวและมีขนาดใหญ่ที่สุด เป็น 1 ใน 6 องค์ของพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในโลกในยุคเดียวกัน แต่เป็นองค์เดียวที่มีสีเขียวและมีขนาดใหญ่ที่สุดสร้างจากศิลา
|footnote = วัดหน้าพระเมรุ อยู่ในตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
}}
บรรทัด 23:
พระยาไชยวิชิต (เผือก) ได้จารึกไว้ในศิลาติดตั้งไว้ที่ฝาผนังเมื่อปี พ.ศ. 2381 ที่สร้างพระวิหารน้อยว่า พระคันธารราฐนี้ พระอุบาลีมหาเถระ ซึ่งจำพรรษาอยู่ที่วัดธรรมาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นำมาจากประเทศลังกา ในคราวที่ท่านเป็นสมณทูตพร้อมด้วยพระสงฆ์นำพระพุทธศาสนากลับคืนไปประดิษฐานในประเทศลังกา<ref>วัดพระเมรุราชิการาม จัดพิมพ์เนื่องในงานสมโภช 513 ปี วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2559</ref> ซึ่งก็ไม่ชัดเจนว่าเป็นความเห็นของพระยาไชยวิชิตถึงที่มาของพระคันธารราฐหรือไม่ หรือได้ข้อมูลมาจากแหล่งใด
 
นักโบราณคดีมีความเห็นว่า พระคันธารราฐเป็นพระพุทธรูปเก่าแก่สมัยทวารวดี สร้างขึ้นในระหว่างปี พ.ศ. 1000 ถึง 1200 สันนิษฐานว่าก่อนที่จะนำมาประดิษฐานไว้ที่วัดมหาธาตุ กรุงศรีอยุธยานั้น แต่เดิมเคยประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเมรุ จังหวัดนครปฐม มาก่อน เนื่องจากทางการขุดพบเรือนแก้วที่ชำรุด ซึ่งเป็นเรือนแก้วของพระพุทธรูปองค์นี้ ดังนั้น ความเก่าแก่ของ พระคันธารราฐ จึงเก่าแก่กว่าสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี และน่าจะไล่เลี่ยกับพระพุทธรูปศิลาสมัยบุโรพุทโธ (ฺBorobodur) ที่เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย
 
สำหรับพระพุทธรูปศิลาขนาดใหญ่ประทับนั่งห้อยพระบาท ศิลปะแบบทวารวดี ปางปฐมเทศนานี้ ปรากฏในโลกเพียง 6 องค์เท่านั้น (ในจำนวนนี้อยู่ในประเทศไทยจำนวน 5 องค์) ประดิษฐานอยู่ในที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้
 
1. วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียว คือ พระคันธารราฐ องค์นี้