ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคันธารราฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kraiwitlee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ การแก้ไขแบบเห็นภาพ: สลับแล้ว
Kraiwitlee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
ในแง่ความเชื่อ ผู้คนที่มาสักการะบูชามักขอพรให้ตนเองหรือญาติผู้ใหญ่ที่เคารพรักมีอายุยืนมั่นคงดังศิลา
 
สำหรับพระพุทธรูปศิลาขนาดใหญ่ประทับนั่งห้อยพระบาท ศิลปะแบบทวารวดี ปางปฐมเทศนานี้ ปรากฏในโลกเพียง 6 องค์เท่านั้น (ในจำนวนนี้อยู่ในประเทศไทยจำนวน 5 องค์) ประดิษฐานอยู่ในที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้
 
1. วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียว คือ พระคันธารราฐ องค์นี้
21. วัดหน้าพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหารเมรุ จังหวัดนครปฐมพระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธรูปศิลาขาวเขียว ชื่อคือ หลวงพ่อประทานพรพระคันธารราฐ องค์นี้ เป็นพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถ
 
3. วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว ชื่อ พระพุทธนรเชษฐ์ เศวตอัศมมัยมุนี ศรีทวารวดีปูชนียบพิตร หรือ หลวงพ่อขาว อยู่ที่ลานชั้นลด (กะเปาะ) ด้านทิศใต้ขององค์พระปฐมเจดีย์
2. วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว ชื่อ หลวงพ่อประทานพร เป็นพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถ
4. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว
 
5. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว
3. วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว ชื่อ พระพุทธนรเชษฐ์ เศวตอัศมมัยมุนี ศรีทวารวดีปูชนียบพิตร หรือ หลวงพ่อขาว อยู่ที่ลานชั้นลด (กะเปาะ) ด้านทิศใต้ขององค์พระปฐมเจดีย์
ุ6. พระวิหารเมนดุต ณ จันทิเมนดุต (Candi Mendut) หรือวัดเมนดุต พุทธสถานขนาดเล็กที่เก่าแก่ที่สุดในเมืองยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) ประเทศอินโดนีเซีย เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว อยู่ภายในอาคารทรงปราสาทยอดสถูปที่สร้างครอบศาสนสถานเดิมที่ก่อด้วยอิฐ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทำจากหินภูเขาไฟเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ตั้งอยู่ห่างจากบุโรพุทโธไปประมาณ 3 กิโลเมตร พระพุทธรูปศิลาในประเทศอินโดนีเซียองค์นี้ มีขนาดใหญ่กว่าตัวคนจริง คือ มีขนาดสูง 3 เมตร แกะสลักจากหินลาวาจากภูเขาไฟ อายุ 1,200 กว่าปี หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันตก นับว่าแปลกกว่าพระพุทธรูปในจันทิ (วัด) อื่นๆ ที่ล้วนหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก และเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตรพระวิหารบุโรพุทโธ และพระวิหารเมนดุต โดยสมาคมพุทธศาสนาแห่งอินโดนีเซียได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระพุทธรูปองค์หนึ่งพร้อมด้วยธงฉัพพรรณรังสี ซึ่งเป็นธงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา
 
4. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว
 
15. วัดหน้าพระเมรุพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียว คือ พระคันธารราฐขาว องค์นี้
 
6. พระวิหารเมนดุต ณ จันทิเมนดุต (Candi Mendut) หรือวัดเมนดุต พุทธสถานขนาดเล็กที่เก่าแก่ที่สุดในเมืองยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) ประเทศอินโดนีเซีย เป็นพระพุทธรูปศิลาขาว อยู่ภายในอาคารทรงปราสาทยอดสถูปที่สร้างครอบศาสนสถานเดิมที่ก่อด้วยอิฐ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทำจากหินภูเขาไฟเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ตั้งอยู่ห่างจากบุโรพุทโธไปประมาณ 3 กิโลเมตร พระพุทธรูปศิลาในประเทศอินโดนีเซียองค์นี้ มีขนาดใหญ่กว่าตัวคนจริง คือ มีขนาดสูง 3 เมตร แกะสลักจากหินลาวาจากภูเขาไฟ อายุ 1,200 กว่าปี หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันตก นับว่าแปลกกว่าพระพุทธรูปในจันทิ (วัด) อื่นๆ ที่ล้วนหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก และเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตรพระวิหารบุโรพุทโธ และพระวิหารเมนดุต โดยสมาคมพุทธศาสนาแห่งอินโดนีเซียได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระพุทธรูปองค์หนึ่งพร้อมด้วยธงฉัพพรรณรังสี ซึ่งเป็นธงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา
 
ในจำนวนพระพุทธรูปศิลา 6 องค์นี้ มีเพียงองค์เดียวที่สร้างขึ้นจากศิลาเขียว ก็คือ พระคันธารราฐ อยู่ที่วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนที่เหลือทั้งหมดสร้างขึ้นจากศิลาขาวทั้งสิ้น ถึงกระนั้นก็ยังมีความสับสนกันอยู่เนืองๆ