ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อมูล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 3:
 
== ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ ==
 
=== ศัพท์คำว่าข้อมูล [[สารสนเทศ]] และ[[ความรู้]] บ่อยครั้งถูกใช้แทนมโนทัศน์ที่ทับซ้อนกัน ระดับของภาวะนามธรรมคือความแตกต่างหลักที่จะนำมาพิจารณา ข้อมูลคือระดับของภาวะนามธรรมต่ำที่สุด สารสนเทศอยู่ในระดับถัดไป และสุดท้ายความรู้คือระดับสูงที่สุดในสามสิ่งนี้ <ref>
{{cite web
|author=Akash Mitra
เส้น 9 ⟶ 10:
|title=Classifying data for successful modeling
|url=http://www.dwbiconcepts.com/data-warehousing/12-data-modelling/101-classifying-data-for-successful-modeling.html
}}</ref> ข้อมูลโดยตัวมันเองนั้นไม่มีความหมายอะไร เมื่อข้อมูลกลายเป็นสารสนเทศ มันจะต้องถูกตีความและมีความหมายเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ความสูงของ[[ยอดเขาเอเวอเรสต์]]โดยทั่วไปถือว่าเป็นข้อมูล หนังสือเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของยอดเขาเอเวอเรสต์ก็อาจถือว่าเป็นสารสนเทศ และรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศเชิงปฏิบัติ เรื่องเส้นทางที่ดีที่สุดในการปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ก็เรียกได้ว่าเป็นความรู้ ===
}}</ref>
ข้อมูลโดยตัวมันเองนั้นไม่มีความหมายอะไร เมื่อข้อมูลกลายเป็นสารสนเทศ มันจะต้องถูกตีความและมีความหมายเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ความสูงของ[[ยอดเขาเอเวอเรสต์]]โดยทั่วไปถือว่าเป็นข้อมูล หนังสือเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของยอดเขาเอเวอเรสต์ก็อาจถือว่าเป็นสารสนเทศ และรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศเชิงปฏิบัติ เรื่องเส้นทางที่ดีที่สุดในการปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ก็เรียกได้ว่าเป็นความรู้
 
เบย์นอน-เดวีส์ใช้มโนทัศน์ของ[[ป้าย]]เพื่อแยกแยะระหว่างข้อมูลกับสารสนเทศ กล่าวคือ ข้อมูลคือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในขณะที่สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อสัญลักษณ์เหล่านั้นใช้อ้างถึงบางสิ่งบางอย่าง <ref>
{{cite book
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ข้อมูล"