ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาทบริจาริกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''บาทบริจาริกา''' หมายถึง ภรรยาที่เป็นสามัญชนของ[[พระมหากษัตริย์]] [[พระมหาอุปราช]] และ[[เจ้าฟ้า]]<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 668</ref>
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{redirect|เปลี่ยนทาง=สนม||อำเภอ|อำเภอสนม}}
'''พระสนม''' ({{lang-en|Royal mistress}}) เป็นตำแหน่งอนุภรรยาหรือภรรยาน้อยของพระเจ้าแผ่นดิน ตำแหน่งพระสนมนั้นไม่นับว่าเป็น[[เจ้า]] แต่พระราชโอรส-พระราชธิดาที่ประสูติจากพระสนมนั้นจะมีพระยศเป็นเจ้าชาย-เจ้าหญิงชั้นโท เท่านั้น ต่างจากพระราชโอรส-พระราชธิดาที่ประสูติจากพระ[[มเหสี]] ที่จะดำรงพระยศเจ้าชาย-เจ้าหญิงชั้นเอก
 
=== ประเทศไทย ===
== ประวัติ ==
ราชสำนักไทยในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระมหากษัตริย์นอกจากมีพระภรรยาเจ้าแล้ว ยังมีบาทบริจาริกาซึ่งแบ่งได้เป็น 4 ชั้นย่อย<ref>''พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5'', หน้า 3</ref> ได้แก่
ระบอบราชาธิปไตย เป็นระบอบการปกครองที่ใช้โดยทั่วไปตั้งแต่สมัยโบราณเป็นต้นมา ในดินแดนต่างๆทั่วโลก ทั้งตะวันตกและตะวันออก ถึงแม้จะมีความแตกต่างในรายละเอียดบางประการเกี่ยวกับธรรมเนียมของการมีพระสนม ดังนี้
# '''พระสนม''' คือเจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดีเป็นเครื่องยศ<ref name="หน้า812">''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 812</ref> มี 2 ชั้น คือ
## '''พระสนมเอก''' ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี พานทอง และเครื่องทองคำอย่างใหญ่ เป็นเครื่องยศ<ref name="หน้า812"/>
## '''พระสนมโท''' ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี พานทอง และเครื่องทองคำอย่างน้อย เป็นเครื่องยศ<ref name="หน้า812"/>
# '''เจ้าจอมอยู่งาน''' คือนางอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำเป็นเครื่องยศ ถ้ามีพระราชโอรสพระราชธิดาเรียกว่า'''เจ้าจอมมารดา'''<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 335</ref>
# '''นักสนม''' คือบาทบริจาริกาซึ่งไม่ใช่เจ้าจอมหรือเจ้าจอมมารดา<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 613</ref> ได้ถวายการรับใช้ในพระราชมนเทียร จึงเรียกอีกอย่างว่า'''นางอยู่งาน''' ได้รับพระราชทานหีบหมากเงินกะไหล่ทองเป็นเครื่องยศ
 
=== ตะวันตกอ้างอิง ===
; เชิงอรรถ
ทางตะวันตกเช่นยุโรป จะนับถือคริสต์ศาสนา ซึ่งกำหนดให้ชาย-หญิง มีคู่สมรสได้เพียงคนเดียว ซึ่งเป็นกฏที่ใช้บังคับตั้งแต่สามัญชนไปจนถึงพระราชา ดังนั้นพระราชาจึงสามารถมี พระราชินีคู่สมรสได้เพียงพระองค์เดียวเท่านั้น จะมีพระราชินีใหม่ได้ก็ต่อเมื่อพระราชินีพระองค์เดิมนั้นสิ้นพระชนม์ไปเสียก่อน ธรรมเนียมการมีอนุภรรยา หรือในกรณีของพระราชา อนุภรรยาจะเรียกกันว่าพระสนมนั้น จึงไม่ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ แน่นอนว่ามีพระราชาส่วนใหญ่ที่มีพระสนม แต่พระสนมเหล่านั้นถึงแม้จะไม่ต้องอยู่อย่างหลบๆซ่อนๆ บางรายก็ใช้ชีวิตอย่างเปิดเผยในสังคมได้อย่างมีเกียรติยศก็ตาม แต่พวกนางจะไม่มีตำแหน่งอย่างเป็นทางการ พระราชาในยุโรปหลายพระองค์ มักจะตอบแทนพระสนมโดยพระราชทานบรรดาศักดิ์ขุนนางให้ เช่น [[มาดาม เดอ ปงปาดูร์]], [[บาร์บารา พาล์มเมอร์]], [[หลุยส์ เดอ เครูอาล]]
{{รายการอ้างอิง|2}}
; บรรณานุกรม
{{ต้องการเริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = จิรวัฒน์ อุตตมะกุล| ชื่อหนังสือ = พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = มติชน| ปี = 2548| ISBN = 974-322-964-1| จำนวนหน้า = 398}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544}}
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พระสนมบาทบริจาริกา| ]]
พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ, เอลิซะเบธ ฮามิลตัน เคานเตสแห่งออร์คนีย์ ในพระเจ้าวิลเลียมที่3 แห่งอังกฤษและกาเบียล เดสเทร่ ดัชเชสแห่งโบฟอร์ตและแวร์นุยในพระเจ้าเฮนรี่ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ในส่วนของราชสำนันฝรั่งเศสนั้น ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าฟรังซัวส์ที่1 มีการแต่งตั้งตำแหน่ง maîtresse-en-titre (Mistress on Title) ซึ่งเป็นตำแหน่งกึ่งทางการของพระสนม สามารถมีได้เพียงคนเดียว และทำให้พระสนมมีตำแหน่งเฝ้าในพิธีการของราชสำนัก พร้อมทั้งมีห้องชุดที่พักในพระราชวังอีกด้วย บางครั้งห้องชุดที่พำนักของพระสนมกึ่งทางการนี้ มีขนาดใหญ่กว่า หรูหราตระการตามากกว่าห้องชุดที่ประทับของสมเด็จพระ[[ราชินี]]เสียอีก
 
=== ตะวันออก ===
ทางตะวันออกคือประเทศทางแถบเอเชีย การมีอนุภรรยานั้นเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ยิ่งผู้ชายที่มีทรัพย์สินและอำนาจด้วยแล้ว ก็จะสามารถมีอนุภรรยาได้เป็นจำนวนมากตามสถานะ ถ้าเป็นกษัตริย์ บรรดาอนุภรรยาเหล่านั้นจะเรียกว่า พระสนม ถือเป็นตำแหน่งที่มีเกียรติยศสูงเหนือกว่าการเป็นภรรยาเอกของคนสามัญเสียอีก
 
=== ไทย ===
ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น มีกำหนดตำแหน่งพระสนมเอก ว่ามีได้ 4 คน มีบรรดาศักดิ์เป็น ท้าวอินทรสุเรนทร ท้าวศรีสุดาจันทร์ ท้าวอินทรเทวี และท้าวศรีจุฬาลักษณ เป็นตำแหน่งท้าวนางพระสนมเอก มียศเหนือกว่าพระสนมทั้งปวง ถือศักดินา 1000 ไร่ เท่ากันทั้ง 4 นาง แต่ไม่นับว่าเป็นเจ้า นอกนั้นก็จะเรียกรวมๆว่า พระสนม นั่นเอง อนึ่ง พระสนมเอกทั้งสี่ ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น เป็นตัวแทนของพระราชวงศ์ท้องถิ่นในขอบขัณฑสีมาของกรุงศรีอยุธยานั่นเอง คือ ท้าวอินทรสุเรนทร เป็นบรรดาศักดิ์ของพระสนมเอกที่มาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ ท้าวศรีสุดาจันทร์ เป็นบรรดาศักดิ์ของพระสนมเอกที่มาจากราชวงศ์อู่ทอง ท้าวอินทรเทวี เป็นบรรดาศักดิ์ของพระสนมเอกที่มาจากราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช(นครศรีธรรมราช) และท้าวศรีจุฬาลักษณ เป็นบรรดาศักดิ์ของพระสนมเอกที่มาจากราชวงศ์พระร่วง (สุโขทัย)
 
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ นั้นไม่ได้แต่งตั้งพระสนมเอก 4 นางให้มีบรรดาศักดิ์พิเศษดังเช่นสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยบรรดาพระสนมทั้งปวงจะได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าจอม ถ้ามีพระราชโอรส พระราชธิดา ก็จะได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าจอมมารดา เหมือนกันหมด แต่จะแบ่งเป็นพระสนมเอก หรือ พระสนมชั้นใดก็ตาม แบ่งจากชั้นของเครื่องยศที่ได้รับพระราชทาน เพราะฉะนั้นพระสนมที่ออกนามว่าเจ้าจอม หรือเจ้าจอมมารดาก็ดี จะเป็นพระสนมเอก พระสนมโท หรือ พระสนมตรี ก็ได้ เวลาออกนามก็ใช้ว่าดังนี้ เช่น เจ้าจอมแว่น พระสนมเอกในรัขกาลที่1 เจ้าจอมมารดาอ่อน พระสนมเอกในรัชกาลที่5 นอกจากนี้ยังมีตำแหน่งพิเศษคือ เจ้าคุณจอมมารดา ซึ่งจะพระราชทานไม่บ่อยนัก พระราชทานแก่พระสนมเอกผู้ใหญ่ที่ได้รับราชการด้วยความสุจริตมาเป็นเวลานาน หรือในกรณีที่พระสนมท่านนั้น เป็นพระชนนีในพระภรรยาเจ้าของพระมหากษัตริย์ จึงทรงยกย่องให้เป็นพิเศษ เช่น เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่4 (พระชนนีในสมเด็จพระอัครมเหสีในรัชกาลที่5 ทั้งสามพระองค์) เจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในรัชกาลที่4 (พระชนนีในพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวีในรัชกาลที่5) และ เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่5 (บาทบริจาริกาท่านแรกในรัชกาลที่5 ซึ่งรัชกาลที่4 ทรงสู่ขอมาเป็นสะใภ้หลวง พระราชทานตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่5 ทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์) เป็นต้น
 
[[หมวดหมู่:พระสนม| ]]