ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ไปยัง ชาวไท: ใช้คำตามพจนานุกรมราชบัณฑิตฯ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox Ethnic group
| group = กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได
| poptime = [[ไฟล์:Taikadai-en1.png|280px]]
| popplace = {{flagicon|China}} [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] <br> {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]] <br> {{flagicon|India}} [[ประเทศอินเดีย]] <br> {{flagicon|Laos}} [[ประเทศลาว]] <br> {{flagicon|Vietnam}} [[ประเทศเวียดนาม]] <br> {{flagicon|Myanmar}} [[ประเทศพม่า]] <br> {{flagicon|Malaysia}} [[ประเทศมาเลเซีย]] <br> {{flagicon|Cambodia}} [[ประเทศกัมพูชา]] <br> {{flagicon|Singapore}} [[ประเทศสิงคโปร์]]
| langs = [[ตระกูลกลุ่มภาษาไท-กะได]]
| rels = ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]]นิกาย[[นิกายเถรวาท]] นับถือสิ่งเหนือธรรมชาติและ[[ศาสนาผี]] ฯลฯ
}}
'''กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได''' หรือบางครั้งเรียกว่า '''กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ชาวไท''' เป็นชื่อเรียกโดยรวมของ[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ทั้งหมดในที่พูด[[ตระกูลกลุ่มภาษาไท-กะได]]<ref>{{cite กลุ่มชาติพันธุ์web|title=ไท (๓๐ มกราคม ๒๕๕๐)|url=http://www.royin.go.th/?knowledges=ไท-กะได๓๐-มกราคม-๒๕๕๐|publisher=สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|accessdate=27 กันยายน 2561|date=30 มกราคม 2550}}</ref> กระจายตัวอยู่ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้|อุษาคเนย์]] รับประทาน[[ข้าวเจ้า]] หรือ[[ข้าวเหนียว]] เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มี[[ใต้ถุน]] อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือ[[ศาสนาผี]] นับถือบรรพบุรุษ และบูชา[[พญาแถน]] (ผีฟ้า หรือ[[เสื้อเมือง]]) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณี[[สงกรานต์]] ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลอง[[วสันตวิษุวัต]] และการ[[ขึ้นปีใหม่]] ทั้งนี้ คำเรียก '''ไต''' เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน '''ไท''' เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ)
 
'''กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได''' หรือบางครั้งเรียกว่า '''กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท''' เป็นชื่อเรียกโดยรวมของ[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ทั้งหมดใน[[ตระกูลภาษาไท-กะได]] กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้|อุษาคเนย์]] รับประทาน[[ข้าวเจ้า]] หรือ[[ข้าวเหนียว]] เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มี[[ใต้ถุน]] อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือ[[เสื้อเมือง]]) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณี[[สงกรานต์]] ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลอง[[วสันตวิษุวัต]] และการ[[ขึ้นปีใหม่]] ทั้งนี้ คำเรียก '''ไต''' เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน '''ไท''' เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ)
 
== ประวัติ ==
{{หลัก|แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท}}
ในอดีต เชื่อกันว่า กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได อพยพมาจากเทือกเขาอัลไต ต่อมาก็เชื่อว่าอพยพมาจากตอนกลางของประเทศจีน และก็เชื่อกันว่ากำเนิดในบริเวณจีนตอนใต้ เป็น[[อาณาจักรน่านเจ้า]] และอพยพลงมาทางตอนใต้สร้างเป็น[[อาณาจักรล้านนา]] และ[[อาณาจักรสุโขทัย]] ส่วนอีกทฤษฎีเชื่อว่าอพยพมาจากทางใต้ จากชวา สุมาตรา และคาบสมุทรมลายู แต่นักมานุษยวิทยาในปัจจุบันเชื่อกันว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได อยู่ที่บริเวณจีนตอนใต้ เรื่อยมาจนถึง[[รัฐฉาน]] (ประเทศพม่า) ประเทศไทยตอนบน และแอ่งที่ราบลุ่มภาคอีสาน เรื่อยไปยัง[[ประเทศลาว]] หลังจากนั้นจึงมีการอพยพเพิ่ม เช่นกลุ่มชาวอาหม ที่อพยพข้าม[[ช่องปาดไก่]] ไปยัง[[อัสสัม]] และ ชาว[[ไทแดง]]ที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานบริเวณ[[อาณาจักรสิบสองจุไท]] โดยทั้งหมด มีทฤษฎีอยู่ดังนี้
 
;ทฤษฏีที่ 1 ชนชาติชาวไท-กะได มาจากเทือกเขาอัลไต
ทฤษฎีนี้ [[หลวงวิจิตรวาทการ]] (ขณะดำรงบรรดาศักดิ์ ขุน) ให้การสนับสนุน ว่าชนชาติไท-กะได มาจาก[[เทือกเขาอัลไต]] แล้วมาสร้างอาณาจักรน่านเจ้า แล้วจึงอพยพมาสร้างล้านนาและสุโขทัย โดยเชื่อว่าคำว่าไต ท้ายคำว่า อัลไต (Altai) หมายถึงชนชาติไท-กะได แต่ทฤษฎีนี้ต่อมาได้พิสูจน์แล้วว่าไม่จริง อีกทั้ง อัลไต เป็น[[ภาษาอัลไตอิก]] ไม่ใช่ภาษาไท-กะได และน่านเจ้า ปัจจุบันได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นอาณาจักรของ[[ชนชาติไป๋]]
 
;ทฤษฏีที่ 2 ชนชาติชาวไท-กะได มาจากจากหมู่เกาะทะเลใต้
เบเนดิกส์ เสนอว่า ไทยพร้อมกับพวกฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซียอพยพจากหมู่เกาะทะเลใต้ แถบเส้นศูนย์สูตร ขึ้นมาตั้งถิ่นฐานในดินแดนอุษาคเนย์ และหมู่เกาะฟิลิปปินส์ เบเนดิกส์ ยกเรื่องความเหมือนของภาษามาสนับสนุน เช่น คำว่าปะตาย ใน[[ภาษาตากาล็อก]] แปลว่า ตาย อากู แปลว่า กู คาราบาว แปลว่า กระบือ เป็นต้น{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} ประเด็นนี้นักภาษาศาสตร์ และนักนิรุกติศาสตร์ส่วนใหญ่ ไม่ยอมรับวิธีการของเบเนดิกส์ เพราะเป็นนำภาษาปัจจุบันของฟิลิปปินส์มาเทียบกับไทย แทนที่จะย้อนกลับไปเมื่อ 1200 ปีที่แล้ว ว่า คำไทยควรจะเป็นอย่างไร และคำฟิลิปปินส์ควรจะเป็นอย่างไร แล้วจึงนำมาเทียบกันได้ นอกจากนี้ ผู้ที่เชื่อทฤษฎีนี้ ยังใช้เหตุผลทางกายวิภาค เนื่องจากคนไทยและฟิลิปปินส์ มีลักษณะทางกายวิภาค คล้ายคลึงกัน
 
;ทฤษฏีที่ 3 ชนชาติชาวไท-กะได อาศัยอยู่ในบริเวณสุวรรณภูมิอยู่แล้ว
นักวิชาการท่านหนึ่งเสนอว่าชนชาติไท-กะได อาจจะอยู่ในบริเวณนี้มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยอ้างตามหลักฐานโครงกระดูก ที่บ้านเชียง และ บ้านเก่า แต่[[หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล]] ทรงอ้างความเห็นของ[[กอร์แมน]]ว่า โครงกระดูกคนบ้านเชียง มีลักษณะคล้ายกับกระดูกมนุษย์ที่อยู่ตามหมู่เกาะ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] อีกประการหนึ่ง ทรงอ้างถึงจารึกในดินแดนสุวรรณภูมิ ว่าเป็นจารึกที่ทำใน[[ภาษามอญ]]มาจนถึงประมาณ [[พ.ศ. 1730]] ไม่เคยมีจารึกภาษาไทยในช่วงเวลาดังกล่าวเลย
 
;ทฤษฏีที่ 4 ชนชาติชาวไท-กะได อาศัยอยู่บริเวณจีนตอนใต้ และเขตวัฒนธรรมไท-กะได
ทฤษฎีนี้เป็นที่ยอมรับของนัก[[ภาษาศาสตร์]] [[นิรุกติศาสตร์]] และ[[ประวัติศาสตร์]]ในปัจจุบันมากที่สุด โดยศาสตราจารย์ เก็ดนีย์ เจ้าของทฤษฎี ให้เหตุผลประกอบด้วยทฤษฏีทางภาษาว่า ภาษาเกิดที่ใด จะมีภาษาท้องถิ่นมากหลายชนิดเกิดขึ้นแถบบริเวณนั้น เพราะอยู่มานานจนแตกต่างกันออกไป แต่ในดินแดนที่ใหม่กว่าภาษาจะไม่ต่างกันมาก โดยยกตัวอย่างภาษาอังกฤษบนเกาะอังกฤษ มีสำเนียงถิ่นมากและบางถิ่นอาจฟังไม่เข้าใจกัน แต่ขณะที่ภาษาอังกฤษในสหรัฐอเมริกา มีสำเนียงถิ่นน้อยมากและพูดฟังเข้าใจกันได้โดยตลอด เปรียบเทียบกับชาวจ้วงใน[[เขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง|มณฑลกวางสี]] แม้มีระยะห่างกันเพียง 20 กิโลเมตร แต่ก็แยกสำเนียงถิ่นออกเป็นจ้วงเหนือ และจ้วงใต้ ซึ่งสำเนียงบางคำต่างกันมากและฟังกันไม่รู้เรื่องทั้งหมด ขณะที่ภาษาถิ่นในไทย ([[ภาษาไทยกลาง]]) และภาษาถิ่นในลาว ([[ภาษาลาว]]) กลับฟังเข้าใจกันได้ตลอดมากกว่า
 
เส้น 36 ⟶ 35:
 
== การแบ่งประเภท ==
การแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได ทำได้หลายวิธี เช่น แบ่งตามวัฒนธรรม แบ่งตามภาษาที่ใช้ และแบ่งตามประเทศในปัจจุบัน
 
=== แบ่งตามวัฒนธรรม ===
เส้น 61 ⟶ 60:
=== แบ่งตามประเทศในปัจจุบัน ===
==== [[ประเทศไทย]] ====
ในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได โดยเฉพาะไทยสยาม เป็นประชากรกลุ่มหลักของประเทศ ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดประกอบด้วย [[ไทใหญ่|ไทใหญ่ (ฉาน เงี้ยว)]] [[ไทลื้อ|ไทลื้อ]] [[ไทขึน]] [[ไทยอง|ไทยอง]] [[ไทยวน|ไทยวน]] [[ชาวไทดำ|ไทดำ (ลาวโซ่ง)]] [[ไทยสยาม]] [[ผู้ไท|ภูไท (ญ้อ, โย้ย)]] [[ภาษาพวน|ไทพวน (ลาวพวน)]] [[ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)|ไทอีสาน (ไทลาว)]] [[ลาวแง้ว|ลาวแง้ว]] [[ภาษาแสก|ไทแสก]] [[ลาวครั่ง]] [[ไทกลา]] [[ไทหย่า]] [[ลาวตี้]] [[ลาวเวียง]] [[ลาวหล่ม]] และ [[คำตี่]]
 
==== [[ประเทศลาว]] ====
ในประเทศลาวก็เช่นเดียวกันกับไทย ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได เป็นประชากรกลุ่มหลักของประเทศ ประกอบด้วย [[ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)|ไทลาว]] [[ลาวตี้]] [[ลาวเวียง]](ภาษาลาวเรียกว่าไทเวียงและแค่เป็นคำสำหรับเรียกคนไทลาวที่มาจากเวียงจันทน์ ไม่ใช่ไทอีกกลุ่มหนึ่งอย่างแท้จริง) [[ลาวหล่ม]] [[ผู้ไท]] [[ชาวไทขาว]] [[ชาวไทดำ|ชาวไทดำ (ลาวโซ่ง)]] [[ชาวไทแดง]] [[ชาวไทเหนือ]] [[ชาวผู้เอิน]] [[ชาวไทยวน|ชาวไทยวน (ลาวยวน)]] [[ชาวไทลื้อ]] ชาวไทพวน (ลาวพวน) ชาวไทกะเลิง ชาวไทญ้อ และ ชาวไทแสก (ลาวใช้ไทแซก)
 
==== [[ประเทศจีน]] ====
กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได ในประเทศจีน ถือเป็นกลุ่มชาวไท-กะได นอกประเทศไทย-ลาว ที่มีจำนวนมากที่สุด โดยมากอาศัยใน[[มณฑลยูนนาน]] [[กวางสี]] [[กวางตุ้ง]] [[กุ้ยโจว]] และ[[ไหหลำ]] ประกอบด้วย [[จ้วง|ชาวจ้วง]] [[ไทใหญ่]] [[ชาวหลี]] [[ชาวไทลื้อ]] [[ชาวไทปายี่]] [[ชาวไทย้อย]] (จุงเจีย ตุเยน ตุเรน หรือไดออย) [[ชาวตุลา]] (ตุเรน) [[ชาวปูลาจี]] [[ปูลุงจี|ชาวปูลุงจี]] [[ชาวไทเหนือ]] (ไทนู้) [[ไทลาย|ชาวไทลาย]] (ไทน้ำ) [[ชาวไทหย่า]] [[นุง|ชาวไทนุง]] [[ชาวไทไขหัว]] [[ชาวไทชอง]] [[ชาวไทเขิน]] [[ชาวไทลื้อ]] [[ชาวต้ง]] (อ้ายก๊ำ ปู้ก๊ำ ผู้คำ) [[ชาวสุย]] [[ชาวมู่หล่าว]] [[ชาวเมาหนาน]] [[ชาวเก๋าหล่าว]] [[ชาวไทเอวลาย]] ชาวปู้ใย่ [[ชาวโท้]] [[ชาวไทหย่า]] [[อูเอ|ชาวอูเอ]] [[ไซ (กลุ่มชาติพันธุ์)|ชาวไซ]] [[เดาลาว|ชาวเดาลาว]] [[อี๋ (กลุ่มชาติพันธุ์)|ชาวอี๋]] [[เอน (กลุ่มชาติพันธุ์)|ชาวเอน]] [[ฟูมะ|ชาวฟูมะ]] [[ตูเชน|ชาวตูเชน]] [[เปเมียว|ชาวเปเมียว]] [[ปาเชน|ชาวปาเชน]] (กลุ่มเลือดผสมจีน) และ [[มิงเกีย|ชาวมิงเกีย]] (กลุ่มเลือดผสมจีน)
 
==== [[ประเทศพม่า]] ====
กลุ่มชาติพันธุ์ไทย-กะได ชาวไทแบ่งออกเป็นสองส่วน คือส่วนเหนือ และส่วนใต้ โดยส่วนใต้เป็นชาว[[ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี|ไทยสยาม]] ที่อาศัยอยู่ในเขตตะนาวศรี โดยเฉพาะบริเวณชายแดน และจังหวัดเกาะสอง ซึ่งยังเป็นปัญหาชาว[[ไทยพลัดถิ่น]]อยู่ สำหรับส่วนเหนือ เป็นชาติชาวไท-กะได กลุ่มอื่นๆ และไม่ได้มีปัญหาเรื่องชีวิตบนเส้นแบ่งเขตแดน โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย [[ชาวไทใหญ่]] [[ชาวไทลื้อ]] [[ชาวไทเขิน]] [[ชาวไทยอง]] [[ชาวไทเมา]] ชาวไทแลง [[คำตี่|ชาวไทคำตี่]] [[ชาวไทพ่าเก]] [[ชาวไทยโยเดีย]] [[ชาวไทผิ่ว]] [[ชาวนะรา]] [[ไทยตะนาวศรี|ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี]]
 
==== [[ประเทศเวียดนาม]] ====
เส้น 78 ⟶ 77:
ชาวไทในอินเดีย ส่วนมากอาศัยใน[[รัฐอัสสัม]] และ[[อรุณาจัลประเทศ]] ได้แก่ [[ชาวไทอาหม]] [[ชาวไทพาเก่]] [[คำตี่|ชาวไทคำตี่]] [[ชาวไทอ่ายตน]] (ไทอ้ายตน อ้ายตอน) [[ไทคำยัง|ชาวไทคำยัง]] [[ชาวไทตุรง]] [[ชาวนะรา]] และ [[จันหารี|ชาวไทจันหารี]]
 
==== ชนชาติชาวไท-กะได ในส่วนอื่นๆ ====
นอกจากนี้ ในกัมพูชา และ มาเลเซีย ยังมีกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไท-กะได อาศัยอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ก่อนตั้งแต่ก่อนการเสียดินแดน เช่น ในพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ เกาะกง ไทรบุรี ปะลิส กลันตัน และตรังกานู โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย
[[ชาวลาว]] [[ไทยสยาม]] [[ไทยเกาะกง]] [[ไทยกลันตัน]] [[ไทยปะลิศ]] [[ไทยไทรบุรี]] [[ไทยเประ]] [[ไทยลังกาวี]] และยังมีชาว SamSam ซึ่งเป็นคนไทยผสมมลายู และนับถือศาสนาอิสลาม อยู่ทางตอนเหนือของมาเลเซีย และทางใต้ของไทย
 
เส้น 112 ⟶ 111:
| หน้า=
}}
* [[หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)|วิจิตรวาทการ, พลตรี หลวง]]. '''งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย'''
* [http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/misc/thai.htm เรื่องชนชาติไทย] หอมรกดไทย กองทัพบก
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ตระกูลกลุ่มภาษาไท-กะได]]
 
{{ชาวไท}}
 
[[หมวดหมู่:ชาวไท| ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชีย|ท]]
{{โครงมนุษย์}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชาวไท"