ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังฆราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:444C:3735:8C22:D7E3:872F:182A (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||สังฆราชในความหมายอื่น ๆ |พระสังฆราช (แก้ความกำกวม)}}
'''สังฆราช''' คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดใน[[สังฆมณฑล]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]], กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2546, หน้า 1160</ref> ในแต่ละประเทศ เช่น [[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศกัมพูชา]] มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]], หน้า 1110</ref>) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสงฆ์และพระราชินีแห่งคณะสงฆ์
 
== ประเทศไทย ==
บรรทัด 10:
== ประเทศกัมพูชา ==
{{Main|สมเด็จพระสังฆราชกัมพูชา}}
ช่วง พ.ศ. 2398-2524 ประเทศกัมพูชามีสมเด็จพระสังฆราช 2 พระองค์ คือฝ่าย[[มหานิกาย]]และฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]] ในปี พ.ศ. 2524 ได้มีการรวมคณะสงฆ์ทั้งสองนิกายเป็นหนึ่งเดียว โดยมี[[สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี (เทพ วงศ์)|สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์)]] เป็นประมุข<ref>{{Harv|Harris|2001|p=75}}</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] ทรงสถาปนา[[สมเด็จพระอภิสิรีสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี)|บัวร์ กรี]] เป็น'''สมเด็จพระอภิสิรีสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี''' สมเด็จพระมหาสังฆราชในคณะธรรมยุติกนิกาย ทำให้คณะสงฆ์กัมพูชาแบ่งการปกครองเป็นสองนิกายอีกครั้ง<ref name="Harris2001">{{Harv|Harris|2001|p=77}}</ref> โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์) เป็นประมุขเฉพาะฝ่ายมหานิกาย และในปี พ.ศ. 2549 สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์) ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น'''สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี''' และสมเด็จ[[นนท์ แงด]] ได้รับสถาปนาเป็น'''สมเด็จพระอภิมหาสุเมธาธิบดี สมเด็จพระสังฆนายกฝ่ายมหานิกาย'''สืบแทนมาจนปัจจุบัน ในปัจจุบันประเทศกัมพูชาจึงมีสมเด็จพระมหาสังฆราช 2 พระองค์
 
== อ้างอิง ==