ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศรษฐศาสตร์จุลภาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎สมมติฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์: การใช้คำที่ผิดเพี้ยน
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
จุดประสงค์หนึ่งของเศรษฐศาสตร์จุลภาคคือการวิเคราะห์กลไก[[ตลาด]]ซึ่งเป็นตัวกำหนด[[ราคา|ราคาเปรียบเทียบ]]ระหว่างสินค้าและบริการ และการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อใช้ในทางเลือกต่าง ๆ เศรษฐศาสตร์จุลภาคศึกษาเกี่ยวกับ[[ความล้มเหลวของตลาด]] ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่กลไกตลาดไม่สามารถทำให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพได้ และยังอธิบายเกี่ยวกับข้อแม้ทางทฤษฎีที่จำเป็นต่อการเกิด[[การแข่งขันสมบูรณ์]] สาขาที่สำคัญในเศรษฐศาสตร์จุลภาค เช่น[[ดุลยภาพทั่วไป]] ตลาดภายใต้[[ความไม่สมมาตรของข้อมูล]] การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน และการประยุกต์ใช้[[ทฤษฎีเกม]]ในทางเศรษฐศาสตร์
 
== สมมติฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์อุอิอุอิ ==
ในทฤษฎี[[อุปสงค์และอุปทาน]]มักตั้งสมมติฐานไว้ว่าตลาดเป็นตลาด[[การแข่งขันสมบูรณ์|แข่งขันสมบูรณ์]] ซึ่งหมายถึงการที่มีผู้ขายและผู้ซื้อในตลาดมากมาย และไม่มีใครสามารถส่งผลให้ราคาของสินค้าและบริการเปลี่ยนแปลงได้ (แต่ในโลกความเป็นจริง สมมติฐานนี้มักไม่เป็นจริงเพราะผู้ซื้อหรือผู้ขายบางคนหรือบางกลุ่มมีอำนาจที่จะเปลี่ยนแปลงราคาได้) ในการวิเคราห์ที่ซับซ้อนบางครั้งต้องกำหนดสมการอุปสงค์-อุปทานของสินค้า แต่อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีนี้ใช้อธิบายได้ดีในสถานการณ์ที่ไม่ยุ่งยาก