ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก}}
{{บทความคัดสรร}}
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ชื่อname = พระเจ้าบรมวงศ์เธอ <br >กรมขุนสุพรรณภาควดี
| ภาพimage = ไฟล์:Srivilailaksana.jpg
| สีพิเศษ = Azure
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| สีอักษร = Pink
| birth_date = {{วันเกิด|2411|7|24}}
| ภาพ = ไฟล์:Srivilailaksana.jpg
| วันประสูติbirth_place = {{วันเกิด|2411|7|24}}<br>[[พระราชวังนันทอุทยาน|วังนันทอุทยาน]]
| พระนามเต็ม = ศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี
| death_style = สิ้นพระชนม์
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2447|10|26|2411|7|24}}
| วันประสูติ = {{วันเกิด|2411|7|24}}<br>[[พระราชวังนันทอุทยาน|วังนันทอุทยาน]]
| วันสิ้นพระชนม์death_place = {{วันตายและอายุ|2447|10|26|2411|7|24}}<br>[[พระบรมมหาราชวัง]]
| พระบิดาfather1 = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระอิสริยยศ = พระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 5<br>กรมขุนสุพรรณภาควดี
| mother1 = [[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)|เจ้าคุณพระประยูรวงศ์]]
| ฐานันดรศักดิ์ = พระองค์เจ้าชั้นเอก
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระมารดา = [[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์]]
| พระชายา =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
}}
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี''' (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) พระนามเดิม''หม่อมเจ้าศรีวิไลยลักษณ์'' เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่[[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)|เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ)]] เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น "''ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก''"
 
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี''' (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่[[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ)]] เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น "''ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก''"
 
พระองค์ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรมชนกนาถให้ทำหน้าที่ดูแลพระเจ้าน้องที่ยังทรงพระเยาว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ได้รับพระราชทานเกียรติให้เป็นผู้สั่งพระกนิษฐาให้เป็นสาว เนื่องจากตามธรรมเนียมการเป็นสาวของสตรีในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ก่อน นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงดำรงตำแหน่งอุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง ([[สภากาชาดไทย]]) ร่วมกับเจ้านายฝ่ายในอีกหลายพระองค์
 
พระองค์เป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าต่างกรมที่ "''กรมขุนสุพรรณภาควดี''" ซึ่งภายหลังจากการทรงกรมเพียง 1 ปี พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ลง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ [[วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร]] โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่[[พระราชวังบางปะอิน]]
 
== พระประวัติ ==
=== ประสูติ ===
พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่[[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ)]] และเป็นเหลนทวดของ [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] (ช่วง บุนนาค)]] [[ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน]]ในรัชกาลที่ 5 พระองค์ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 9 ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกพระองค์ว่า "เจ้าหนู" พระเจ้าน้องทั้งหลายทรงเรียกว่า "พี่หนู" และชาววังเรียกว่า "เสด็จพระองค์ใหญ่"
 
พระองค์มีพระขนิษฐาที่ประสูติร่วมพระมารดาอีก 2 พระองค์ ซึ่งมีพระนามที่คล้องจองกัน ได้แก่ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ|สุวพักตร์วิไลยพรรณ]] และ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ|บัณฑรวรรณวโรภาส]]
 
พระองค์เป็นพระเจ้าลูกเธอที่ประสูติตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอใน[[รัชกาลที่ 4]] ประทับอยู่ ณ [[พระตำหนักสวนกุหลาบ]] ภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]] เมื่อหม่อมแพใกล้จะคลอดพระหน่อ จึงต้องหาสถานที่คลอดนอกพระบรมมหาราชวัง เนื่องจากตามพระราชประเพณีนั้น นอกจากจะประสูติพระราชโอรสและพระราชธิดาแล้ว จะให้หญิงใดคลอดลูกภายในพระบรมมหาราชวังไม่ได้<ref>จุลลดา ภักดีภูมินทร์ , [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=2901&stissueid=2585&stcolcatid=2&stauthorid=13 วังนันทอุทยาน], สกุลไทย, ฉบับที่ 2585, ปีที่ 50, ประจำวันอังคารที่ 4 พฤษภาคม 2547 </ref> โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้จัด[[พระราชวังนันทอุทยาน|วังนันทอุทยาน]] พระราชทานให้เป็นสถานที่ในการคลอดพระหน่อ
 
หม่อมแพทรงครรภ์เพียง 7 เดือนก็ประสูติพระหน่อก่อนกำหนด เมื่อประสูตินั้นพระองค์ยังอยู่ในถุงน้ำคร่ำ ทำให้หมอเข้าใจว่าพระองค์คงสิ้นพระชนม์ จึงให้หาหม้อขนันจะเอาใส่ไปถ่วงน้ำตามประเพณี แต่[[เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์รวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)]] ขรัวตาอยากรู้ว่าเป็นพระองค์หญิงหรือพระองค์ชายจึงให้ฉีกถุงน้ำคร่ำออก พบว่ายังหายพระทัยอยู่ จึงช่วยกันประคบประหงมเลี้ยงดูจนสามารถมีพระชนม์อยู่ได้<ref>ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย, ลูกแก้ว เมียขวัญ, พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มติชน, 2551, หน้า 80 (ISBN 974-02-0107-6)</ref><ref>[http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=248&filename=country_infor_desc.html?topic_id=248&filename=rashinee40.htm เจ้าคุณพระประยูรวงศ์] จาก เว็บไซต์ รักบ้านเกิด.คอม</ref> ต่อมา หม่อมแพและพระธิดาจึงย้ายกลับเข้ามาประทับ ณ พระตำหนักสวนกุหลาบตามเดิม เมื่อแรกประสูตินั้นพระองค์มีพระอิสริยยศที่ '''หม่อมเจ้าศรีวิไลยลักษณ์''' ต่อมา เมื่อพระราชบิดาขึ้นครองราชสมบัติแล้ว พระองค์จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น '''พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี'''
 
===ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก===
เส้น 40 ⟶ 34:
พระองค์ได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการ เช่น ทรงมีสร้อยพระนาม คือ "สุนทรศักดิกัลยาวดี" ซึ่งตามปกติแล้วสร้อยพระนามมักจะมีแต่ในพระนามของเจ้าฟ้าที่ประสูติแต่พระภรรยาเจ้า<ref name="เจ้านายฝ่ายใน">จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/dsakulcolumnDetailsql.asp?stcolumnid=4317&stissueid=2668&stcolcatid=2&stauthorid=13 เจ้านายฝ่ายใน], สกุลไทย, ฉบับที่ 2668 ปีที่ 52 ประจำวันอังคารที่ 6 ธันวาคม 2548 </ref> และในพิธีโสกันต์ยังโปรดให้ทำพิธีเขาไกรลาสใหญ่เช่นเดียวกับเขาไกรลาสของเจ้าฟ้า เป็นต้น
 
แต่เดิมพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงเอกราชและความมั่นคงของประเทศ ทรงพยายามแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ดีขึ้น มีพระราชกระแสที่จะส่งพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ เดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษในฐานะองค์ทายาทของพระมหากษัตริย์สยาม<ref name="วิลัย">สัจธรรม. ''อาทิตย์อุไทย''. กรุงเทพฯ:ดีเอ็มจี. 2551, หน้า 35</ref> ในการตั้งพระราชธิดาองค์โปรดให้ไปศึกษาต่อยังต่างประเทศครั้งนี้ ทรงตั้งพระราชหฤทัยให้[[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช|สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] ได้เสด็จไปด้วยในฐานะพี่เลี้ยง และได้ทาบทาม[[เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์รวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)|เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์]] ผู้เป็นตาของพระองค์ศรีวิลัยลักษณ์ด้วยพระองค์เอง<ref name="วิลัย"/> ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาพระราชทานสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ลงวัน {{จันทรคติ|วัน=๒|ขึ้น=๑๒|เดือน=๑๒}} ค่ำ ปีชวดอัฐศก ๑๒๓๘ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ซึ่ง[[เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)]] ได้บันทึกไว้ ความว่า<ref>สัจธรรม. ''อาทิตย์อุไทย''. กรุงเทพฯ:ดีเอ็มจี. 2551, หน้า 35-36</ref>
 
<blockquote>"...กรมพระราชวังบวรฯ ([[กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ]]) มิสเตอร์น๊อกซ์ ([[โทมัส ยอร์ช น็อกซ์]]) กงสุลอังกฤษ คิดจะเอาพระโอรสองค์ใหญ่มีพระนามว่า พระองค์เจ้าวิลัย ([[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลัยวรวิลาศ]]) ส่งไปประเทศอังกฤษ เพื่อมิสเตอร์น๊อกซ์จะเปิดเผยที่เมืองอังกฤษว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่มีพระบรมราชโอรสมีแต่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่คือ กรมขุนสุพรรณฯ ส่วนกรมพระราชวังบวรฯ มีพระโอรส พระโอรสนี้จะเป็นรัชทายาทต่อไป เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงทราบดังนี้แล้ว จึงทรงพระวิตก คิดจะให้สมเด็จวังบูรพากำชับให้กรมขุนสุพรรณฯ ออกไปเรียนวิชา ณ ประเทศอังกฤษ ความที่ทรงหวังในเวลานั้นจะโปรดเกล้าให้กรมขุนสุพรรณฯ เป็น[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|ควีนวิคตอเรีย]] สมเด็จวังบูรพาเป็น ปรินซ์อารเบิด ([[เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี]]) เวลานั้นได้จัดผู้ที่จะตามเสด็จไปประเทศยุโรปไว้พร้อมถึงกับได้กำหนดวันที่จะเสด็จออกจากกรุงเทพฯ เวลานี้ข้าราชการทั่วไปพากันตื่นเต้นเข้าไปเฝ้าอยู่ทั่วทุกชั้น เวลานั้นจะมีอุปสรรคอันใดเกิดขึ้นจึงได้ระงับเหตุดังกล่าวนี้ในเวลาไม่กี่เดือนก็รับทราบว่า สมเด็จพระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า ([[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]]) ทรงพระครรภ์ในไม่ช้าก็ประสูติ [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ]] พระราชดำริดังกล่าวนี้จึงเป็นอันระงับไป"</blockquote>
เส้น 47 ⟶ 41:
{{ดูเพิ่มที่|พระนามทรงกรมของพระราชโอรส พระราชธิดาในรัชกาลที่ 5}}
 
ในการ[[พระราชพิธีทวีธาภิเษก ในรัชกาลที่ 5|พระราชพิธีทวีธาภิเษก]]สมโภชสิริราชสมบัติในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระราชดำริว่า "''ในการพระราชพิธีทวิธาภิเศกสมโภชศิริราชสมบัติครั้งนี้ การทั้งปวงได้จัดเป็นคู่ ๆ กันมา ได้พระราชทานพระเกียรติยศพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่งแล้ว ควรจะพระราชทานพระเกียรติยศแก่พระเจ้าลูกเธอพระองค์หนึ่งให้เป็นคู่กัน ตามราชประเพณีแต่ก่อนก็เคยมีตัวอย่าง''" ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี เป็นพระองค์เจ้าต่างกรมฝ่ายในเมื่อวันที่ [[10 มกราคม]] [[พ.ศ. 2446]] มีพระนามว่า "'''พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี'''"<ref name="ทรงกรม">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/042/729.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งกรมพระเจ้าลูกเธอฝ่ายใน สถาปนาพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิ์กัลยาวดี ขึ้นเป็นกรมขุนสุพรรณภาควดี], เล่ม ๒๐, ตอน ๔๒, ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๖, หน้า ๗๒๙ </ref>
 
การที่พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมฝ่ายในที่ "กรมขุน" นั้นเป็นการทรงกรมเท่ากับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ชั้นเจ้าฟ้า ซึ่งนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์ได้รับพระราชทานจากพระบรมราชชนกเป็นพิเศษอีกอย่างหนึ่ง เนื่องจากตามธรรมเนียมการทรงกรมของพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้านั้น จะเริ่มทรงกรมที่ "กรมหมื่น" และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ชั้นเจ้าฟ้าจะเริ่มทรงกรมที่ "กรมขุน"<ref name="เจ้านายฝ่ายใน"/> นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 พระองค์แรกและเป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็น[[พระนามทรงกรมของพระราชโอรส พระราชธิดาในรัชกาลที่ 5|เจ้าต่างกรม]]
เส้น 54 ⟶ 48:
 
===สิ้นพระชนม์===
พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447 หลังประชวรเรื้อรังมานาน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/031/549.PDF ข่าวสิ้นพระชนม์], เล่ม ๒๑, ตอน ๓๑, ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๗, หน้า ๕๔๙ </ref> พระชันษา 36 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ณ [[พระราชวังบางปะอิน]] โดยใช้[[พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์]]เป็นที่ประดิษฐานพระศพ และโปรดให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ [[วัดนิเวศธรรมประวัติ]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/048/882_2.PDF การพระเมรุพระเจ้าลูกเธอกรมขุนสุพรรณภาควดี ที่วัดนิเวศธรรมประวัติ], เล่ม ๒๑, หน้า ๘๘๒ , ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๗ </ref>
 
ระหว่างการเสด็จพระราชดำเนินไปในงานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของกรมขุนสุพรรณภาควดี [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์]] ก็ประชวรและสิ้นพระชนม์ ด้วยพระอาการไข้พิษ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/048/893.PDF ข่าวสิ้นพระชนม์], เล่ม ๒๑, ตอน ๔๘, ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๗, หน้า ๘๙๓ </ref><ref>{{อ้างหนังสือ
เส้น 72 ⟶ 66:
[[ไฟล์:Aisawan Dhiphya-Asana1904.jpg|left|thumb|300px|[[พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์]] เมื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี]]
 
หลังจากพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีสิ้นพระชนม์ ณ ตำหนักภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]]เมื่อวันที่ [[26 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2447]] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชทานน้ำสรงพระศพ และพระบรมวงศานุวงศ์สรงน้ำพระศพ แล้วจึงโปรดให้เจ้าพนักงานทรงเครื่องพระศพและเชิญลงพระลองในประกอบ[[พระโกศกุดั่นใหญ่]] แล้วจึงเชิญพระศพขึ้นประดิษฐานแว่นฟ้า 3 ชั้น ณ [[พระที่นั่งสุทไธสวรรย์]]
 
ส่วนการพระราชทานเพลิงพระศพพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวมีพระราชดำริว่า ต้นศรีมหาโพธิ์ซึ่งพระองค์ทรงได้พืชพันธุ์มาจาก[[พุทธคยา]] แล้วทรงเพาะและปลูกไว้ที่[[วัดนิเวศธรรมประวัติ]]เป็นวันเดียวกับวันประสูติของพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี ดังนั้น พระองค์จึงมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติ โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่[[พระราชวังบางปะอิน]]
 
ในวันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2448]] เจ้าพนักงานได้เชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดีออกจากพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ออกไปทางประตูศักดิไชยสิทธิ์ขึ้นประดิษฐานบนรถพระศพ แล้วประกอบพระลองในด้วย[[พระโกศทองเล็ก]]ห้อยเฟื่อง แล้วจึงเชิญพระศพไปยังสถานีรถไฟเพื่อเชิญพระศพไปยังพระราชวังบางปะอินต่อไป
 
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปยังพระราชวังบางปะอินก่อนล่วงหน้า 1 วัน เมื่อพระศพพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดีมาถึงสถานีรถไฟบางปะอินในวันที่ [[15 กุมภาพันธ์]] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ รอรับพระศพ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระศพประดิษฐานเหนือชั้นแว่นฟ้าในเรือพระที่นั่งศรีประภัศรไชยเพื่อเชิญพระศพไปยัง[[พระราชวังบางปะอิน]] การจัดขบวนเรือครั้งนี้ โปรดฯ ให้จัดขบวนเรือยาวอย่างขบวนเรือถวายผ้าพระกฐิน หลังจากขบวนเรือถึงพระราชวังบางปะอินแล้ว เจ้าหน้าที่เชิญพระศพขึ้นประดิษฐาน ณ [[พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์]] เหนือแว่นฟ้าทองคำ 1 ชั้น มีฐานเขียวรอง มีบัวกลุ่มรองพระโกศ ห้อย[[ฉัตร]]ตาดทอง 5 ชั้น แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี เป็นเวลา 3 วัน ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก จนเป็นที่กล่าวขานในหมู่ชาววังว่า ใครไม่ได้มาร่วมงานในครั้งนี้ถือเป็นคนนอกสังคมชาววัง<ref>สำนักพระราชวัง, พระราชวังบางปะอิน, พิมพ์ครั้งที่ 1, พ.ศ. 2548</ref>
 
[[ไฟล์:พระเมรุกรมขุนสุพรรณภาควดี.jpg|thumb|300px|พระเมรุของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี บริเวณ[[วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร]]]]
ต่อมา วันที่ [[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2448]] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานเชิญพระศพออกจากพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์นำไปประดิษฐานบนเรือพระที่นั่งศรีประภัศรไชยเพื่อเชิญไปพระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดนิเวศธรรมประวัติ เมื่อถึงวัดนิเวศธรรมประวัติ เจ้าพนักงานเชิญพระศพขึ้นประดิษฐานเหนือพระจิตกาธารยอด[[พระเกี้ยว]] ประกอบ[[พระโกศจันทน์]] หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจุดเพลิงพระราชทานพระศพพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี วันรุ่งขึ้นพระองค์เสด็จพระราชดำเนินเก็บพระอัฐิบรรจุลงพระโกศทองคำ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานเชิญพระอัฐิลงประดิษฐานเหนือบุษบกเรือพระที่นั่งชลวิมานไชย แล้วจึงเชิญขึ้นประดิษฐานในบุษบกทองคำ ณ พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เพื่อบำเพ็ญพระกุศลพระอัฐิ หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ซุ้มเรือนแก้วขึ้นภายในวัดนิเวศธรรมประวัติเพื่อใช้บรรจุพระอัฐิของพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี
 
ในงานพระศพครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองพระองค์สีขาว ซึ่งถือว่าเป็นการพระราชทานพระเกียรติยศแก่พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้อย่างสูง เนื่องจากโดยทั่วไปพระมหากษัตริย์จะทรงฉลองพระองค์สีขาวเฉพาะงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระบรมราชบุพการี<ref>ณรงค์ บุญเสถียรวงศ์, [http://www.mfa.go.th/internet/radio/book/Saranrom_33_07.pdf เจ้านายลูกเธอในรัชกาลที่ 5 : ชื่อจังหวัดและมณฑล]</ref> นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แปลนิทานนิบาตชาดกตอนต้น เพื่อพิมพ์เป็น[[หนังสืองานศพ|หนังสือสำหรับแจกในงานพระศพ]]ครั้งนี้ ซึ่งแต่เดิมนั้นหนังสือสำหรับแจกในงานศพจะเป็นบทสวดมนต์หรือหนังสือที่เกี่ยวกับ[[พระพุทธศาสนา]] พระองค์จึงมีพระราชดำริว่า หนังสือแจกซึ่งเป็นพระธรรมปริยายที่ลึกซึ้งคนไม่ชอบอ่าน ดังนั้น พระองค์จึงเปลี่ยนเป็นนิทานชาดกแทน พร้อมกันนี้ทรงแนะนำไว้ในคำนำตอนต้นว่า หนังสือแจกควรพิมพ์เรื่องที่คนชอบอ่าน<ref>ชนา ชลาศัย, [http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TUROamIyd3hPREF4TURjMU1RPT0=&sectionid=TURNd013PT0=&day=TWpBd09DMHdOeTB3TVE9PQ== หนังสืองานศพ], ข่าวสดรายวัน, ปีที่ 18, ฉบับที่ 6424, 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 </ref>
เส้น 95 ⟶ 89:
*หม่อมเจ้าหญิงศรีวิไลยลักษณ์ (2411)
*พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิ์กัลยาวดี (2411-2446)
*พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิ์กัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (2446-2453)
*พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิ์กัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (2453-2477)
*พระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 5 กรมขุนสุพรรณภาควดี (2477-ปัจจุบัน)
 
=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ===
เส้น 123 ⟶ 117:
 
* '''[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]]ฝ่ายใน ชั้น[[ปฐมจุลจอมเกล้า]] '''
พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายใน ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า เมื่อวันที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2436]] พร้อมกับเจ้านายฝ่ายในและเจ้าจอมมารดาในพระราชวงศ์อีกหลายพระองค์ ซึ่งพระองค์นับเป็นพระราชวงศ์ฝ่ายในรุ่นแรก ๆ ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้
 
นอกจากนี้ พระองค์ยังได้รับพระราชทาน[[รายชื่อเหรียญราชอิสริยาภรณ์ไทย|เหรียญราชอิสริยาภรณ์]]จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวเมื่อครั้งได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น "กรมขุนสุพรรณภาควดี" ได้แก่ [[เหรียญจักรพรรดิมาลา]]และ[[เหรียญรัตนาภรณ์]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/042/726_1.PDF การตั้งกรมเจ้าพระยาลูกยาเธอฝ่ายใน กำหนดการสถาปนาพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์], เล่ม ๒๐, ตอน ๔๒, ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๖, หน้า ๗๒๖ </ref>
 
== พระอนุสรณ์ ==
* '''เจดีย์ซุ้มเรือนแก้ว [[วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร]]''' พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ซุ้มเรือนแก้วขึ้นภายในวัดนิเวศธรรมประวัติเพื่อใช้บรรจุพระอัฐิของพระเจ้าลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี
* '''ถนนสุพรรณ''' (ชื่อเดิม ''ถนนส้มมือหนู'') ตั้งตามชื่อเครื่องลายครามที่มีภาพส้มมือผลไม้ของจีนซึ่งถือว่าเป็นโอสถรับประทานแล้วอายุยืน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อ ''ถนนส้มมือหนู'' เป็น ''ถนนสุพรรณ'' ตรงกับพระนามพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี <ref>กัณฐิกา ศรีอุดม , “พร” ของพระนครในสมัยรัชกาลที่ ๕, วารสารเมืองโบราณ, ปี 2549 ฉบับที่ 32.1</ref>
* '''บ้านสวนสุพรรณ''' ตั้งอยู่ที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่พำนักของ[[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)]] ตั้งตามพระนามพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี <ref>{{cite web |year= วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2557 |url= http://www.naewna.com/entertain/87474 |title= 'มัณฑนา โมรากุล' ผู้ริเริ่มเทคนิค 'ลูกคอแบบตะวันตก |work= |publisher= หนังสือพิมพ์แนวหน้า |accessdate=18 ตุลาคม พ.ศ. 2557}}</ref><ref>{{cite web |year= |url= http://www.xn--42c7b2aayi6f1ac1m.com/articles/42150309/%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B8%99%E0%B8%B2-%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5.html |title= 'มัณฑนา โมรากุล' |work= |publisher= |accessdate=18 ตุลาคม พ.ศ. 2557}}</ref>
 
== พงศาวลี ==
{{ahnentafel top|width=100%|พงศาวลีของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี}}
<center>{{ahnentafel-compact5
|style=font-size: 90%; line-height: 110%;
เส้น 145 ⟶ 139:
|1= 1. '''{{PAGENAME}}'''
|2= 2. [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|3= 3. [[เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ บุนนาค)|เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ในรัชกาลที่ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ5)]]
|4= 4. [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|5= 5. [[สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี]]
|6= 6. [[เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์รวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)]]
|7= 7. ท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์
|8= 8. [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
|9= 9. [[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]]
|10= 10. [[สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์|สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์<br>กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์]]
|11= 11. [[หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา]]
|12= 12. [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)]]
เส้น 160 ⟶ 154:
|16= 16. [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]
|17= 17. [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]
|18= 18. เจ้าขรัว[[เงิน แซ่ตัน]]
|19= 19. [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]]
|20= 20. [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|21= 21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์
|22= 22. บุศย์
|23= 23. แจ่ม
|24= 24. [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]]
|25= 25. ท่านผู้หญิงจันทร์ บุนนาค
|26= 26. หลวงแก้วอายัติ (จาต บุนนาค)
เส้น 218 ⟶ 212:
{{พระราชธิดาราชวงศ์จักรี}}
 
{{เรียงลำดับ|ศรีวิไลยลักษณ์สุพรรณภาควดี}}
{{เกิดปีอายุขัย|2411}}{{ตายปี|2447}}
 
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2411]]
[[หมวดหมู่:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 5]]
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้า]]
[[หมวดหมู่:กรมขุน|สุพรรณภาควดี]]
[[หมวดหมู่:พระราชธิดาในรัชกาลที่ 5]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. (ฝ่ายใน)]]