ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิเต๋า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ เสริฐ บินเดี่ยว (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 5:
* Julia Ching, R. W. L. Guisso. 1991. p.75,119. Sages and Filial Sons. https://books.google.com/books?id=ynfrlFZcUG8C&pg=PA75</ref> ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่าง[[ลัทธิขงจื๊อ]]<ref name="Pollard; Rosenberg; Tignor 2011 164"/> แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "[[อู๋เหวย์]]" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย
 
ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์[[อี้จิง]] ต่อมาใช้[[เต้าเต๋อจิง]]ของ[[เล่าจื๊อ]]และคัมภีร์[[จวงจื๊อ]]เป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัย[[ราชวงศ์ฮั่น]] ลัทธิเต๋าใน[[จ๊กก๊ก]]เริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ<ref>''Nadeau (2012)'', p. 42</ref> จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ [[สำนักฉวนเจิน]]และ[[สำนักเจิ้งอี]] หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์[[เต้าจ้างจั้ง]]และพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของ[[จักรพรรดิจีน]] และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก
 
ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการใน[[ประเทศจีน]]และ[[ประเทศไต้หวัน]] แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก<ref>''The Ancient Chinese Super State of Primary Societies: Taoist Philosophy for the 21st Century'', You-Sheng Li, June 2010, p. 300</ref> แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งใน[[ฮ่องกง]] [[มาเก๊า]] และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
ใต้]]
 
หลังจากที่มีคนจีนอพยบมาตั้งถิ่นฐานในไทยได้มีการสร้างศาลเจ้าขึ้นมาเพื่อลำลึกถึงเทพเซียนที่ตนนับถือ แต่ด้วยที่ว่ายังขาดผู้รู้จริงในการทำพิธีอย่างนักพรตเต๋าทำให้ประเพณีการไหว้เจ้าผิดเพี้ยนไปมากนัก มีการเข้าผีทรงเจ้า บ้างก็เอามีดแทงปากตัวเอง บ้างก็เฉือนลิ้นตัวเอง มีการเดินลุยไฟปีนบรรไดมีด โดยอ้างว่าพิธีกรรมพวกนี้นั้นมากจากลัทธิเต๋า แต่ถ้าเราไปศึกษาคำภีร์เต้าจ้างซึ่งเป็นคำภีร์ทางศาสนาเต๋านั้นจะไม่ปรากฏรูปแบบพิธีกรรมเหล่านี้ แสดงถึงความเข้าใจผิดของคนไทยส่วนใหญ่อย่างเห็นได้ชัด ประชากรไทยส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธเวลามีการถกเถียงกันเกี่ยวกับคำสอนพระพุทธเจ้ามักจะใช้พระไตรปิฎกเป็นตัวชี้วัดอ้างอิงถึงความถูกต้องในหลักธรรมคำสอน ของศาสนาเต๋าก็เช่นกันเวลามีเรื่องถกเถียงกันเกี่ยวกับเต๋าก็มีคำภีร์เต้าจ้างมาเป็นตัวชี้วัดอ้างอิงถึงความถูกผิดในหลักธรรมคำสอน แต่คนไทยส่วนใหญ่กับไปเชื่ออะไรที่ผิดเพี้ยนเกี่ยวกับลัทธิเต๋าสืบทอดต่อๆกันมาหลายร้อยปีและสิ่งที่ชาวไทยส่วนใหญ่เชื่อกันนั้นไม่ปรากฏในคำภีร์เต้าจ้าง
 
== อ้างอิง ==