ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| fullname = สโมสรฟุตบอลทหารบก
| nickname = ''สุภาพบุรุษวงจักร''
| founded = {{start date and age|1916|02|24}} <br> ในนาม '''สโมสรกีฬากองทัพบก'''
| founded = 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459
| stadium = [[สนามกีฬากองทัพบก]]<br/>[[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
| capacity = 20,000
| owner = บริษัท อาร์มี่ ฟุตบอล จำกัด
| chairman = [[เฉลิมชัย สิทธิสาท|พลเอก.อ. เฉลิมชัย สิทธิสาท]]
| manager = พลเอก.อ. ศุภฤกษ์ ไม้แก้ว
| coach = อดุลย์ ลือกิจนา
| coach = ธนิศร์ อารีย์สง่ากุล
| league = [[ไทยลีก 2]]
| season = [[ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2560|2560]]
บรรทัด 35:
[[ไฟล์:Army United 2017.png|150px|thumb|สัญลักษณ์สโมสร ใช้เฉพาะฤดูกาล 2560]]
 
'''สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด''' (หรือเดิมชื่อคือ "''สโมสรฟุตบอลทหารบก")'' เป็น [[สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่สโมสรหนึ่ง]]ใน[[ประเทศไทย]] ก่อตั้งเมื่อตั้งอยู่ที่ บริเวณ [[พ.ศ.ถนนวิภาวดีรังสิต]] [[เขตพญาไท]] โดยใช้ [[สนามกีฬากองทัพบก]] เป็นสนามเหย้า ปัจจุบัน ลงทำการแข่งขันใน [[ไทยลีก 24592]]
 
== ประวัติสโมสร ==
'''สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด''' ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2459 ในนาม ''สโมสรกีฬากองทัพบก'' โดยมีวัตถุประสงค์ในการที่จะให้กำลังพลในกองทัพ ได้ออกกำลังกาย โดยในระยะแรก นักฟุตบอลส่วนใหญ่ มาจากกำลังพลในกองทัพทั้งสิ้น โดยได้ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันของ [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] โดยมีเกียรติยศที่สำคัญคือ ชนะเลิศ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.|ถ้วยพระราชทาน ก]] ในปี 2526 และเคยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ควีนสคัพ|ฟุตบอลควีนส์คัพ]] ในปี 2540 อีกด้วย<ref>https://www.facebook.com/Armyunitedfootballclub/posts/378833525486146 ประวัติสโมสรอาร์มี่ ยูไนเต็ด (พอสังเขป) - เพจเฟซบุ๊คสโมสรอาร์มี่ ยูไนเต็ด</ref>
ในอดีต ทีมทหารบก คือทีมที่มีจุดยืนและอุดมการณ์ชัดเจนที่จะใช้ผู้เล่นที่เป็นคนในกองทัพเป็นหลัก ลงเล่นแข่งขันฟุตบอลในประเทศไทยมาแล้วทุกระดับ ทุกยุคสมัย สร้างนักเตะขึ้นมาประดับวงการฟุตบอลเมืองไทยหลายต่อหลายคน และมีเรื่องราวมากมายให้เล่าขานถึงความยิ่งใหญ่ของทีมตรากงจักร
 
=== การปรับเปลื่ยนสู่สโมสรอาชีพ ===
จนกระทั่งปี [[พ.ศ. 2553]] สโมสรทหารบก ต้องการความเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นทีมมืออาชีพ ทั้งการเปลี่ยนชื่อสโมสรเป็น "อาร์มี่ ยูไนเต็ด" เปลี่ยนตราโลโก้สโมสร และได้นำเข้าผู้เล่นต่างชาติเป็นครั้งแรก หลังใช้ผู้เล่นที่เป็นกำลังพลทหารมาอย่างยาวนาน โดยสนามเหย้าของพวกเขาคือ "[[สนามกีฬากองทัพบก]]" วิภาวดี รังเหย้าที่มีอายุกว่า 50 ปี
กระทั่งในปี [[พ.ศ. 2553|2553]] หลังจากที่ทางสมาคมฯ และ [[ไทยลีก (บริษัท)|ไทยพรีเมียร์ลีก]] ได้มีการปรับโครงสร้างโดยเพิ่มจำนวนสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันเป็น 18 สโมสร<ref>[http://www.siamsport.co.th/Sport_Football/110104_233.html วิชิตชี้ไทยลีกเหมาะแล้วมี18ทีม ''siamsport.co.th'']</ref> และ สโมสรต้องทำการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จึงทำให้มีการจัดตั้ง '''บริษัท อาร์มี่ ฟุตบอล จำกัด''' เพื่อบริหารจัดการสโมสร โดยแยกจาก ส่วนของ ''กองการกีฬา [[กรมสวัสดิการทหารบก]]'' และได้ทำการเปลื่ยนชื่อและตราสัญลักษณ์สโมสร โดยเปลื่ยนชื่อเป็น '''สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด''' และได้มีการผ่อนปรนโดย อนุญาตให้มีนักฟุตบอลต่างชาติเข้ามาเล่นร่วมกับสโมสร โดย [[ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2553#เพลย์ออฟ|การเพลย์ออฟเพิ่มจำนวนสโมสร]] สโมสร จบด้วยอันดับแรกของตาราง ทำให้ตามระเบียบเดิม (16 สโมสร) สโมสรจะต้องตกชั้น แต่ได้สิทธิ์ลงทำการแข่งขันในลีกสูงสุดอีกครั้ง
 
อย่างไรก็ตาม หลังจากนั้นในปี [[พ.ศ. 2559|2559]] [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ได้ประกาศยุติการแข่งขันเพื่อถวายความอาลัยแด่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] และให้ยึดตารางคะแนนวันที่ [[14 ตุลาคม]] ทำให้อาร์มี่สโมสร ที่อยู่ในอันดับที่ 16 ต้องตกชั้นไปเล่นใน[[ไทยลีก 2]] จนถึงปัจจุบัน
 
== ผู้เล่น ==
เส้น 244 ⟶ 245:
== ผลงาน ==
* [[ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก]] - อันดับสูงสุด อันดับ 5 (2550)
* [[ควีนส์คัพฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน (ฟุตบอล)ควีนสคัพ|ควีนส์คัพ]] - รองชนะเลิศ - 2540
* [[ถ้วย ก]] - ชนะเลิศ 1 ครั้ง - 2526
* [[ถ้วย ข]] - ชนะเลิศ 1 ครั้ง - 2523