ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มราชกิจจานุเบกษาการประกาศอุทยานแห่งชาติทั้งหมด และอ้างอิง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 59:
 
โดยเมื่อสรุปเมื่อเรานำเอาอักษร ที่ได้กล่าวถึงความหมายต่างๆข้างต้นมาวิเคราะห์ เราก็จะเห็นได้ถึงความสัมพันธ์ของ คำว่า วิจัย (Research) กับ อริยสัจ ๔ (Noble Truth) โดย พื้นฐานก่อนที่จะมาเป็นการวิจัย (Research) นั้น เริ่มจากการที่มีความสงสัยว่าสิ่งนั้นสิ่งนี้เป็นอย่างไร เปรียบได้ดังทุกข์ เป็นสิ่งที่ทนได้ยาก เนื่องเกิดจากความสงสัย เมื่อเกิดความสงสัยขึ้นมา ก็อยากรู้อยากเห็น (C=Curiosity) ซึ่งเป็นตัณหา ความทะยานอยาก เรียกว่า สมุทัย เพราะเหตุให้เกิดทุกข์ จากนั้นก็หาวิธีการต่างๆ ในการวิจัย ไม่ว่าจะเป็น (R=Recruitment, Relationship), (E=Education, Efficiency), (S=Science, Stimulation), (E=Evaluation, Equipment), (A=Aim, Attitude) และ (R=Result)ซึ่งเป็นวิธีการที่มีแบบแผนเป็นระเบียบ ซึ่งดับตัณหาได้สิ้นเชิง ทุกข์ดับไปหมด ได้ชื่อว่านิโรธ เพราะเป็นความดับทุกข์ เพราะได้ทราบถึงผลของความอยากรู้ สิ่งสุดท้ายคือ (H=Horizon) เกิดแสงสว่าง โดยผลการวิจัย ทำให้เข้าใจในปัญหาต่างๆ ทำให้เกิดความรู้ที่เรียกว่าปัญญา คือ ปัญญาอันเห็นชอบว่าสิ่งนี้คือทุกข์ สิ่งนี้เหตุให้ทุกข์เกิด สิ่งนี้ความดับทุกข์ สิ่งนี้ทางให้ถึงความดับทุกข์ มีชื่อว่ามรรค เพราะเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงดับทุกข์ ดังที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ทำให้เห็นภาพของความสัมพันธ์ของคำว่า วิจัย (Research) กับ อริยสัจ ๔ (Noble Truth) และสามารถที่จะเชื่อมโยงถึงกระบวนการต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุและผล ตามหลักของ การวิจัย และ อริยสัจ ๔
 
==รายชื่ออุทยานแห่งชาติที่ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา==
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 จนถึงปัจจุบัน ได้มีการประกาศราชกิจจานุเบกษาให้พื้นที่ในประเทศไทยเป็นอุทยานแห่งชาติแล้วทั้งสิ้น 131 แห่ง โดยเริ่มตั้งแต่ 18 ก.ย. 2505 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จังหวัดนครนายก จนกระทั่งล่าสุด 12 ธ.ค. 2560 อุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ และลำพูน<ref>http://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=6c63799b-f8c5-4dc9-a153-5443f8b4debd.pdf</ref>
 
==ประเภทของอุทยานแห่งชาติ==