ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดภูเก็ต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 44:
== ประวัติ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต}}
เดิมคำว่าภูเก็ตนั้นสะกดว่า '''ภูเก็จ'''
เดิมคำว่าภูเก็ตนั้นสะกดว่า '''ภูเก็ต''' ซึ่งแปลได้ว่า เมืองแก้ว จึงใช้ตราเป็นรูปภูเขา (ภู) มีประกายแก้ว (เก็จ) เปล่งออกเป็นรัศมี (ดูตราที่ผ้าผูกคอลูกเสือ) ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก '''มณิครัม''' ตามหลักฐาน [[พ.ศ. 1568]] ภูเก็ตเป็นที่รู้จักของนักเดินเรือที่ใช้เส้นทางระหว่าง[[จีน]]กับ[[อินเดีย]] โดยผ่านแหลมมลายู หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดก็คือ หนังสือภูมิศาสตร์และแผนที่เดินเรือของคลอดิอุส ปโตเลมี เมื่อประมาณ [[พ.ศ. 700]] กล่าวถึงการเดินทางจากแหลม[[สุวรรณภูมิ]]ลงมาจนถึง[[แหลมมลายู]] ซึ่งต้องผ่านแหลม '''จังซีลอน''' หรือเกาะภูเก็ต (เกาะถลาง) นั่นเอง{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
เดิมคำว่าภูเก็ตนั้นสะกดว่า '''ภูเก็ต''' ซึ่งแปลได้ว่า เมืองแก้ว จึงใช้ตราเป็นรูปภูเขา (ภู) มีประกายแก้ว (เก็จ) เปล่งออกเป็นรัศมี (ดูตราที่ผ้าผูกคอลูกเสือ) ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก '''มณิครัม''' ตามหลักฐาน [[พ.ศ. 1568]] ภูเก็ตเป็นที่รู้จักของนักเดินเรือที่ใช้เส้นทางระหว่าง[[จีน]]กับ[[อินเดีย]] โดยผ่านแหลมมลายู หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดก็คือ หนังสือภูมิศาสตร์และแผนที่เดินเรือของคลอดิอุส ปโตเลมี เมื่อประมาณ [[พ.ศ. 700]] กล่าวถึงการเดินทางจากแหลม[[สุวรรณภูมิ]]ลงมาจนถึง[[แหลมมลายู]] ซึ่งต้องผ่านแหลม '''จังซีลอน''' หรือเกาะภูเก็ต (เกาะถลาง) นั่นเอง{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
จาก[[ประวัติศาสตร์ไทย]] ภูเก็ตเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรตามพรลิงก์]] [[อาณาจักรศรีวิชัย]] สืบต่อมาจนถึงสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราชเรียกเกาะภูเก็ตว่า เมืองตะกั่วถลาง เป็นเมืองที่ 11 ใน 12 เมือง[[นักษัตร]] โดยใช้ตราเป็นรูปสุนัข จนถึง[[สมัยสุโขทัย]] เมืองถลางไปขึ้นกับเมือง[[อำเภอตะกั่วป่า|ตะกั่วป่า]] ใน[[อาณาจักรอยุธยา|สมัยอยุธยา]] ชาว[[ฮอลันดา]] ชาว[[โปรตุเกส]] และชาว[[ฝรั่งเศส]] ได้สร้างสถานที่เก็บสินค้าเพื่อรับซื้อแร่[[ดีบุก]]จากเมืองภูเก็ต (ถลาง)