ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บางระจัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:แผนที่.jpg|thumb|ที่ตั้งค่ายบางระจัน เมื่อเทียบกับในปัจจุบัน]]
 
'''บางระจัน''' เป็นค่ายป้องกันตัวเองของชาวบ้าน[[เมืองสิงห์บุรี]]และเมืองต่าง ๆ ที่พากันมาหลบภัยจากกองทัพพม่าที่[[บางระจัน]] ก่อน[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]]<ref name="เทป">เทปสนทนาเรื่องวาระสุดท้ายกรุงศรีอยุธยา: วีระ ธีรภัทร กับ ดร.สุเนตร ชุตินทรานนท์ ทาง F.M. 97.0 เมกะเฮิร์ตซ์ ตรินิตี้เรดิโอ: 2544 {{อ้างอิงดีกว่า}}</ref> สามารถต้านทานการเข้าตีของกองทัพพม่าได้หลายครั้ง และมีกิตติศัพท์เลื่องลือในด้านวีรกรรมความกล้าหาญใน[[ประวัติศาสตร์ไทย]] โดยมีอนุสาวรีย์สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวีรกรรมในครั้งนี้ในตำบลบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน [[จังหวัดสิงห์บุรี]]
 
== เบื้องหลัง ==
บรรทัด 76:
 
== การวิเคราะห์ ==
ปัจจุบัน นักวิชาการทางประวัติศาสตร์มีความเชื่อโน้มเอียงไปในทางที่ว่า วีรกรรมของชาวบ้านบางระจันไม่มีอยู่จริง หรือมีอยู่จริง ก็ไม่ใช่วีรกรรมเพื่อชาติ แต่เป็นไปในลักษณะเป็นชุมนุมป้องกันตนเองจากผู้รุกราน และก็มีชุมนุมลักษณะนี้มากมาย ไม่เพียงเฉพาะบ้านบางระจัน และการต่อต้านทัพพม่าของชาวบ้านบางระจันก็ไม่น่ายาวนานถึง 5-6 เดือน น่าจะไม่เกิน 3 เดือน<ref name="เทป">เทปสนทนาเรื่องวาระสุดท้ายกรุงศรีอยุธยา: วีระ ธีรภัทร กับ ดร.สุเนตร ชุตินทรานนท์ ทาง F.M. 97.0 เมกะเฮิร์ตซ์ ตรินิตี้เรดิโอ: 2544 {{อ้างอิงดีกว่า}}</ref>
 
วีรกรรมของชาวบ้านบางระจันได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ระบาดในประเทศไทย เพื่อเป็นการปลุกใจให้รักและหวงแหนในชาติ เช่น มีการบรรจุในแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ บทละครร้อง ฯลฯ ความรับรู้ของคนทั่วไปจะรับรู้ผ่านทางแบบเรียน นิยาย ละคร รวมทั้งภาพยนตร์ และเชื่อตามการนำเสนอนั้นว่าวีรกรรมและตัวละครมีตัวตนจริง{{อ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==