ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูเขาไฟเอเรบัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
+ 4 หมวดหมู่ด้วยฮอทแคต
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 8:
| prominence_ref = <ref name="gvp"/><br/><small>[[List of peaks by prominence|Ranked 34th]]</small>
| listing = [[Ultra prominent peaks|Ultra]]
| location = [[เกาะรอสส์]] [[แอนตาร์กติกา]]<br/> (ส่วนหนึ่งของ[[รอสส์ดีเพนเดนซี]]อ้างสิทธิโดยนิวซีแลนด์)
| map = Antarctica
| map_alt = Map of Antarctica showing location of Mount Erebus
บรรทัด 24:
| first_ascent = [[Edgeworth David|เอจเวิร์ด เดวิด]]และคณะ ใน พ.ศ. 2451 <ref>
{{cite web
| url = http://www.aad.gov.au/default.asp?casid=6740
| title = Antarctic explorers
| publisher = Australian Antarctic Division
| accessdate = 2008-12-29 }}</ref>
| easiest_route = เบสิคสโนว์ & ปีนน้ำแข็ง
}}
 
'''ภูเขาไฟเอเรบัส''' ({{lang-en|Mount Erebus}}) เป็น[[ภูเขาไฟมีพลัง]]ที่อยู่ใต้สุดของโลกและเป็นสูงเป็นอันดับ 2 ในทวีปแอนตาร์กติการองจาก[[Mount Sidley|ภูเขาไฟซีย์เล]] ภูเขาลูกนี้เป็น[[รายชื่อเกาะเรียงตามลำดับความสูง|ภูเขาบนเกาะที่สูงเป็นอันดับ 6 ของโลก]]<ref name="gvp">{{Cite gvp
| vnum = 390020
| name = Mount Erebus
| accessdate = 2008-12-29 }}</ref> สูง 3,794 เมตรตั้งอยู่บน[[เกาะรอสส์]]ที่เป็นที่ตั้งของภูเขาดับสนิทอย่าง[[ภูเขาเทเรอะ]]และ[[ภูเขาเบิรด์]]
 
ภูเขาลูกนี้เริ่มปะทุเมื่อประมาณ 1.3 ล้านปีที่แล้ว<ref>{{cite web|url=http://erebus.nmt.edu/index.php/general-information|title=Mt. Erebus|publisher=Mt. Erebus Volcano Observatory (MEVO)|accessdate=January 11, 2015|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20120312011946/http://erebus.nmt.edu/index.php/general-information|archivedate=March 12, 2012|df=}}</ref> และภูเขาลูกนี้ยังเป็นที่ตั้งของที่สังเกตการณ์ที่ดูแลโดย[[New Mexico Institute of Mining and Technology|สถาบันเหมืองแร่และเทคโนโลยีแห่งรัฐนิวเม็กซิโก]]<ref>{{cite web
| url = http://erebus.nmt.edu
| archive-url = https://web.archive.org/web/20070702023136/http://erebus.nmt.edu/
| dead-url = yes
| archive-date = 2007-07-02
| title = Mount Erebus Volcano Observatory
| publisher = [[New Mexico Institute of Mining and Technology|New Mexico Tech]]
| accessdate = 2008-12-29
}}</ref>
 
== ธรณีวิทยาและวิทยาภูเขาไฟ ==
ภูเขาไฟเอเรบัสเป็นภูเขาไฟที่มีกิจกรรมทางภูเขาไฟมากที่สุดใน[[แอนตาร์กติกา]]และยังเป็นจุดปะทุของ[[จุดร้อนเอเรบัส]]ในปัจจุบัน ยอดปล่องภูเขาไฟมีทะเลสาบหินโฟโนไลต์หลอมเหลวซึ่งเป็นหนึ่งในห้าของ[[ทะเลสาบลาวา]]ที่อยู่ถาวรบนโลก เอเรบัสเป็นภูเขาไฟที่[[การประทุแบบสตรอมโบเลียน|ประทุแบบสตรอมโบเลียน]]ตามทะเลสาบลาวาหรือตามรอยแตกทั้งหมดของปล่องภูเขาไฟ<ref>{{cite book |editor-last=Kyle |editor-first=P. R. |title=Volcanological and Environmental Studies of Mount Erebus, Antarctica |series=Antarctic Research Series |publisher=American Geophysical Union |location=Washington DC |year=1994 |isbn=0-87590-875-6 }}</ref><ref>{{cite journal |last=Aster |first=R. |last2=Mah |first2=S. |last3=Kyle |first3=P. |last4=McIntosh |first4=W. |last5=Dunbar |first5=N. |first6=J. |last6=Johnson |title=Very long period oscillations of Mount Erebus volcano |journal=[[Journal of Geophysical Research|J. Geophys. Res.]] |volume=108 |issue= |pages=2522 |doi=10.1029/2002JB002101 |year=2003 }}</ref> ภูเขาไฟลูกนี้มีความโดดเด่นทางวิทยาศาสตร์เนื่องจากกิจกรรมการปะทุต่อเนื่องอยู่ในระดับต่ำและผิดปกติทำให้ช่วยให้ศึกษา[[การประทุแบบสตรอมโบเลียน]]ได้อย่างใกล้ชิด ภูเขาลูกนี้มีลักษณะเฉพาะร่วมกับภูเขาไฟบนโลกเพียงไม่กี่แห่ง เช่น[[ภูเขาไฟสตรอมโบลี]]ในประเทศอิตาลี การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของภูเขาไฟลูกนี้ค่อนข้างสะดวกเนื่องจากอยู่ห่างจากที่ตั้งของ[[ฐานสกอต]]ของนิวซีแลนด์และ[[สถานีแม็คเมอร์โด]]ของสหรัฐเพียง 35 กม.
 
ภูเขาไฟเอเรบัสจัดเป็น[[กรวยภูเขาไฟสลับชั้น]]โดยครึ่งล่างเป็นรูปโล่ด้านบนเป็นกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ส่วนประกอบที่ปะทุออกมาจากเอเรบัสจะเป็นพวก[[ผลึกดอก]] [[อะนอร์โทเคลส]] [[เทไฟร์ท]]และ[[หินโฟโนไลต์]]ซึ่งเป็นส่วนประกอบของลาวาในภูเขาไฟ ส่วนประกอบของการระเบิดที่เก่าแก่ที่สุดมีส่วนประกอบไม่ต่างกันแต่จะมี[[หินบาซาไนต์]]หลอมเหลวที่[[ความหนืด|หนืด]]ซึ่งเป็นส่วนที่ทำให้เป็นรูปโล่บริเวณตีนเขา หินบาซาไนต์และหินโฟโนไลต์หลอมเหลวจำนวนเล็กน้อยทำให้เกิด[[Fang Ridge|สันเขาแฟรง]]และสถานที่อื่น ๆ รอบภูเขาไฟเอเรบัส ภูเขาไฟเอเรบัสเป็นภูเขาไฟที่ปะทุโฟโนไลต์เพียงแห่งเดียวในโลกในปัจจุบัน<ref name="Burg2012">{{cite journal | url=http://www.agu.org/pubs/crossref/2012/2012GC004243.shtml | title=Backward Tracking of gas chemistry measurements at Erebus volcano |author1=Burgisser, Alain |author2=Oppenheimer, Clive, Alletti, Marina |author3=Kyle, Phillip R. |author4=Scaillet, Bruno |author5=Carroll, Michael R. | journal=Geochemistry Geophysics Geosystems |date=November 2012 | volume=13 | issue=11 | pages=24 | doi=10.1029/2012GC004243}}</ref>
 
== ประวัติ ==
=== ชื่อและการค้นพบ ===
[[เจมส์ คลาร์ก รอสส์]]ค้นพบภูเขาลูกนี้ในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2384<ref>Ross, ''Voyage to the Southern Seas'', vol. i, pp. 216–8.</ref> (เห็นระหว่างการปะทุ) อีกทั้งยังตั้งชื่อให้ภูเขาลูกนี้และ[[ภูเขาเทเรอะ]]ตามชื่อเรือหลวงเอเรบัสและเรือหลวงเทเรอะ
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}