ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิบาบูร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thai.60 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
|พระบรมนามาภิไธย =
|พระปรมาภิไธย = ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์
|วันพระพระราชสมภพ = [[14 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1483]]<br> [[อันดิจาน|เมืองอันดิจาน]], [[อุซเบกิสถาน]]
|วันสวรรคต = [[26 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1530]]<br>[[อัครา|เมืองอัครา]]
|พระอิสริยยศ =
|พระบรมราชบิดาชนก = อุมาร์ ชีค มีร์ซาที่ 2, อามีร์แห่งฟาร์คานา
|พระบรมราชมารดาชนนี= คุตลุกห์ นิการ์ คานุม
|พระอัครมเหสี = อัยชา ซุลตาน เบกุม<br>เซย์นับ ซุลตาน เบกุม<br>มาฮาม เบกุม<br>ดิลดาร์ เบกุม<br>กุลนาร์ อคาชา<br>กุลรุกข์ เบกุม<br>มูบาริกา ยูเซฟซาย
|พระราชโอรส/ธิดา = [[สมเด็จพระจักรพรรดิหุมายุน|หุมายุน]]<br>[[คัมราน มีร์ซา]]</br>ฮินดัล มีร์ซา<br>ฟาห์-อุน-นิสซา<br>กุลบาดัน เบกุม<br>กุลเชห์รา เบกุม<br>อัลตุน บิชีค
บรรทัด 19:
}}
 
'''ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์''' หรือนิยมเรียกพระนามว่า '''จักรพรรดิบาบูร์''' ({{lang-fa|'''نصیر الدین محمد همایون'''}}, {{lang-en|'''Zahir-ud-din Muhammad Babur'''}}, ''พระบรมราชสมภพ'' [[14 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1483]] - ''เสด็จสวรรคต'' [[26 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1530]]) ทรงเป็นนักรบจาก[[เอเชียกลาง]]ซึ่งมีชัยชนะและสถาปนา[[ราชวงศ์โมกุล]]ขึ้นบริเวณ[[อนุทวีปอินเดีย]] และสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบาบูร์ แห่ง[[จักรวรรดิโมกุล]] ทรงเป็นทายาทโดยตรงจาก[[ตีมูร์]]ผ่านทางพระราชบิดา และยังมีเชื้อสายของ[[เจงกีส ข่าน]]ผ่านทางพระราชมารดา พระองค์เป็นผู้ที่นำอิทธิพลและวัฒนธรรม[[เปอร์เซีย]]เข้าไปเผยแพร่ในอาณาจักรของพระองค์ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการขยายอาณาจักรของโมกุลในเวลาต่อมา<ref>F. Lehmann: [http://www.iranicaonline.org/articles/babor-zahir-al-din Ẓahīr-al-Dīn Moḥammad Bābor]. In [[Encyclopaedia Iranica]]. Online Ed. December 1988 (updated August 2011). ''"BĀBOR, ẒAHĪR-AL-DĪN MOḤAMMAD (6 Moḥarram 886-6 Jomādā I 937/14 February 1483-26 December 1530), Timurid prince, military genius, and literary craftsman who escaped the bloody political arena of his Central Asian birthplace to found the Mughal Empire in India. His origin, milieu, training, and education were steeped in Persian culture and so Bābor was largely responsible for the fostering of this culture by his descendants, the Mughals of India, and for the expansion of Persian cultural influence in the Indian subcontinent, with brilliant literary, artistic, and historiographical results."''</ref><ref>Robert L. Canfield, Robert L. (1991). ''Turko-Persia in historical perspective'', Cambridge University Press, p.20. "The Mughals-Persianized Turks who invaded from Central Asia and claimed descent from both Timur and Genghis&nbsp;– strengthened the Persianate culture of Muslim India".</ref>
 
{{clear}}