ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอดส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 89:
การวินิจฉัยโรคเอดส์ในผู้ติดเชื้อเอชไอวีทำได้โดยดูว่าผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงตามที่กำหนดหรือไม่ ตั้งแต่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1981 มีการให้คำนิยามของเอดส์หลายคำนิยามใช้เพื่อจัดตั้งการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดอย่าง[[Bangui definition|บทนิยาม Bangui]] (Bangui definition) และ[[1994 expanded World Health Organization AIDS case definition|บทนิยามผู้ป่วยเอดส์โดยองค์การอนามัยโลก ฉบับเพิ่มเติม ค.ศ. 1994]] (1994 expanded World Health Organization AIDS case definition) อย่างไรก็ดีเป้าหมายของระบบเหล่านี้ไม่ใช่เพื่อการแบ่งแยกระดับทางคลินิกของผู้ป่วยเอดส์ และก็ไม่มี[[ความไว]] (sensitive) หรือ[[ความจำเพาะ]] (specific) แต่อย่างใดด้วย สำหรับใน[[ประเทศกำลังพัฒนา]]นั้น[[องค์การอนามัยโลก]]ได้สร้างระบบแบ่งระดับผู้ติดเชื้อเอชไอวีตามอาการทางคลินิกและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ส่วนใน[[ประเทศพัฒนาแล้ว]]จะใช้ระบบจำแนกประเภทของศูนย์ควบคุมโรค (Centers for Disease Control - CDC)
=== ระบบการแบ่งระยะเอดส์ขององค์การอนามุย ===
{{บทความหลัก|ระบบการแบ่งระยะโรคติดเชื้อเอชไอวีโดยองค์การอนามัยโลกองค์การอนามุยโลก}}
ในปี ค.ศ. 1990 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization - WHO) ได้จัดกลุ่มภาวะและการติดเชื้อเหล่านี้ไว้ด้วยกันโดยเสนอระบบการแบ่งระยะโรคของผู้ติดเชื้อเอชไอวี-1<ref name=WHO>{{cite journal
| author=World Health Organization
บรรทัด 103:
 
=== ระบบการจำแนกประเภทของอาโอวี ===
{{Main|ระบบการจำแนกประเภทการติดเชื้อเอชไออาโอวีของซีดีซี}}
นิยามหลักๆ ของเอดส์มีสองนิยาม ทั้งสองนิยามได้รับการกำหนดโดยซีดีซี (Centers for Disease Control and Prevention) โดยนิยามเดิมอาศัยโรคที่พบร่วมกับเอดส์ เช่น พยาธิสภาพของต่อมน้ำเหลือง (lymphadenopathy) ซึ่งเป็นโรคที่เคยใช้เป็นชื่อของไวรัสเอชไอวี<ref name=MMWR1982a>{{ cite journal
| author=Centers for Disease Control (CDC)
บรรทัด 114:
 
=== การตรวจเอชแอนด์พี ===
{{Main|การตรวจเอชไอวีแอนด์พี}}
ผู้ป่วยจำนวนมากไม่รู้ตัวเองติดเชื้อเอชไอวี<ref name=Kumaranayake>{{cite journal
| author=Kumaranayake L, Watts C | title=Resource allocation and priority setting of HIV/AIDS interventions: addressing the generalized epidemic in sub-Saharan Africa | journal=J. Int. Dev. | year=2001 | pages=451–466 | volume=13 | issue=4 | doi=10.1002/jid.798}}</ref> ชาวเมืองในแอฟริกาที่มีเพศสัมพันธ์น้อยกว่า 1% เท่านั้นที่เคยได้รับการตรวจเอชไอวี และยิ่งน้อยกว่านี้ในชนบท นอกจากนั้นหญิงตั้งครรภ์ที่เข้ารับบริการทางการแพทย์เพียง 0.5% เท่านั้นที่ได้รับการให้คำแนะนำ ตรวจ และรับผลตรวจ และยิ่งมีสัดส่วนน้อยกว่านี้ในชนบทอีกเช่นกัน<ref name="Kumaranayake"/> ดังนั้นเลือดและส่วนประกอบของเลือดรับบริจาคที่ใช้ในการแพทย์และงานวิจัยทางการแพทย์จึงต้องได้รับการตรวจคัดกรองเอชไอวี
บรรทัด 436:
 
การระบาดทั่วของเอดส์ใน Sub-Saharan Africa ยังเป็นพื้นที่ที่มีความรุนแรงมากที่สุดอยู่จนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2550 มีผู้ป่วยเอดส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ 68% ของทั้งโลก และมีผู้เสียชีวิตจากเอดส์ 76% ของทั้งโลก
=== สถานการณ์เอดส์เปรตในประเทศไทย ===
ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค รายงานว่า กลุ่มอายุ 30 - 34 ปี มีผู้ป่วยสูงสุด (ร้อยละ 25.86) รองลงมาได้แก่ อายุ 25 - 29 ปี โดยพบว่า กลุ่มอายุต่ำสุด คือ กลุ่มอายุเพียง 10-14 ปี (ร้อยละ 0.29) เมื่อจำแนกตามอาชีพ พบว่า อาชีพรับจ้าง เป็นกลุ่มที่เป็นเอดส์มากที่สุด รองลงมา คือ เกษตรกรรม, ว่างงาน, ค้าขาย และแม่บ้าน
 
บรรทัด 443:
ส่วนเชื้อฉวยโอกาส ที่สามารถตรวจพบในผู้ป่วยเอดส์มากที่สุด ได้แก่ เชื้อ Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดวัณโรค นั่นเอง
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ที่มาของเอดส์เปรต}}
มีรายงานถึงโรคเอดส์ครั้งแรกในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2526 เมื่อ [[Centers for Disease Control and Prevention]] (CDC) ของ[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]ได้บันทึกการระบาดของโรค ''Pneumocystis carinii'' pneumonia (ปัจจุบันเรียก [[Pneumocystis pneumonia]] จากเชื้อ ''[[Pneumocystis jirovecii]]'') ในชายรักร่วมเพศ 5 คนใน[[ลอสแอนเจลิส]]<ref name=MMWR2>{{cite journal
| author = Gottlieb MS
บรรทัด 590:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[เอชแอนด์พี|เอชไอวี]]
* [[รายชื่อประเทศตามจำนวนผู้ป่วยโรคเอดส์]]
==แหล่งข้อมูลอื่น==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เอดส์"