ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
ผู้มีสิทธิได้รับปริญญาเอกจะต้องเสนอโครงการ วิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาที่เป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัยทางวิชาการซึ่งเป็นหลักวิชาการที่มีคุณค่าต่อการเผยแพร่ในวารสารที่[[พิชญพิจารณ์]]แล้ว <ref name="ReferenceA">{{cite journal |last1=Dinham |first1=S. |last2=Scott |first2=C. |doi=10.1080/03098770020030498 |title=The Experience of Disseminating the Results of Doctoral Research |journal=Journal of Further and Higher Education |volume=25 |pages=45–55 |year=2001 |pmid= |pmc=}}</ref> ในหลายประเทศผู้มีสิทธิจะต้อง[[วิทยานิพนธ์|สอบป้องกัน]] วิทยานิพนธ์นี้ก่อนที่จัดสรรผู้เชี่ยวชาญที่เป็นคณะกรรมการสอบที่ได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย ในบางครั้งมหาวิทยาลัยจะมอบ[[ปริญญาเอก]]ประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจากปรัชญาดุษฎีบัณฑิต เช่น [[วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต]] (วศ.ด.) สำหรับวิศวกร และ[[ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต]] (ศษ.ด.) สำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา ในปี 2005 [[สมาคมมหาวิทยาลัยยุโรป]]ได้กำหนด''หลักซาลซ์บูร์ก'' (''Salzburg Principles'') ถึงหลักพื้นฐานสิบประการสำหรับปริญญาขั้นที่สาม (ปริญญาเอก) ภายใต้[[กระบวนการโบโลญญา]]<ref>{{cite web|url=http://eua.be/eua/jsp/en/upload/Salzburg_Report_final.1129817011146.pdf|title=BOLOGNA SEMINAR: DOCTORAL PROGRAMMES FOR THE EUROPEAN KNOWLEDGE SOCIETY|publisher=European Universities Association|author=Kirsti Koch Christensen |date=2005}}</ref> ตามมาด้วย ''หลักฟลอเรนซ์'' ในปี 2016 ประกอบด้วยหลักพื้นฐานเจ็ดประการสำหรับปริญญาเอกในสาขาศิลปะที่กำหนดโดย[[สันนิบาตแห่งสถาบันศิลปะยุโรป]] ซึ่งได้รับการรับรองโดย[[สมาคมโรงเรียนสอนศิลปะยุโรป]] [[สมาคมโรงเรียนภาพยนตร์และโทรทัศน์นานาชาติ]] สมาคมมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยศิลปะ การออกแบบ และสื่อนานาชาติ และ[[สมาคมเพื่อการวิจัยศิลปะ]]
 
ในบริบทของปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและชื่อปริญญาอื่น ๆ ที่คล้ายกัน คำว่า "ปรัชญา" ไม่ได้หมายถึงสาขาหรือศาสตร์ของสาขาวิชาการทาง[[ปรัชญา]]เพียงอย่างเดียว แต่ถูกนำมาใช้ในความหมายที่กว้างขึ้นตามความหมายดั้งเดิมในภาษากรีก คือ "ความรักในปัญญา" (love of wisdom) ส่วนใหญ่ในยุโรปทุกสาขา ([[ประวัติศาสตร์]] [[ปรัชญา]] [[สังคมศาสตร์]] [[คณิตศาสตร์]] และ[[ปรัชญาธรรมชาติ]]/หรือ[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]])<ref>Sooyoung Chang, ''Academic Genealogy of Mathematicians'', World Scientific, 2010, p. 183.</ref> รวมถึง[[เทววิทยา]] [[นิติศาสตร์]] และ[[แพทยศาสตร์]] (ทั้งหลักสูตรวิชาชีพ อาชีวศึกษา และเทคนิค) เป็นที่รู้ตามธรรมเนียมว่าคือปรัชญา ใน[[เยอรมนี]] และที่อื่น ๆ ในยุโรป คณะพื้นฐานทาง[[ศิลปศาสตร์]]เป็นที่รู้จักกันว่า "คณะปรัชญา"
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ปริญญาทางวิชาการ}}
[[หมวดหมู่:คำนำหน้าชื่อ]]
 
[[หมวดหมู่:ปริญญาเอก]]
[[หมวดหมู่:คำนำหน้าชื่อ|ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]]
[[หมวดหมู่:ปริญญาเอก|ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต]]