ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 7650211 สร้างโดย 86.56.207.16 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{issues|ปรับภาษา=yes|ต้องการอ้างอิง=yes|จัดรูปแบบ=yes}}
[[ไฟล์:LenguasSe austro-asiáticasasia lang map.png|right|thumb|300px|เขตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก]]
'''ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก''' ({{lang-en|Austro-Asiatic languages}}) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] และบางส่วนใน[[อินเดีย]]และ[[บังกลาเทศ]] ชื่อนี้มาจากคำใน[[ภาษาละติน]]ที่แปลว่า “ใต้” และชื่อ[[ทวีปเอเชีย]]ใน[[ภาษากรีก]] ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด [[ภาษาเวียดนาม]] [[ภาษาเขมร]] และ[[ภาษามอญ]]เป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็น[[ภาษาทางการ]] ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย
 
ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ใน[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า]]ใน[[เนปาล]]ตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับ[[ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน]]และจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก
 
== การจัดจำแนก ==
นักภาษาศาสตร์โดยทั่วไปจัดภาษานี้เป็นสองกลุ่มใหญ่คือ[[ภาษากลุ่มมุนดา]]ที่พบในอินเดียตะวันออกและอินเดียกลางกับบางส่วนของบังกลาเทศและ[[ภาษากลุ่มมอญ-เขมร]] ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือและหมู่เกาะนิโคบาร์ จากภาษาในตระกูลนี้ทั้งหมด 168 ภาษา อยุ่ในกลุ่มมอญ-เขมร 147 ภาษาและอยู่ในกลุ่มมุนดา 21 ภาษา การแบ่งย่อยลงไปอีกมีความแตกต่างกันดังนี้