ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
=== การค้นพบ ===
[[ไฟล์:Galileo.arp.300pix.jpg|thumb|left|upright|[[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]ผู้คนพบดวงจันทร์ของกาลิเลโอทั้งสี่ดวง]]
ผลจากการปรับปรุง[[กล้องโทรทรรศน์]]โดยกาลิเลโอ ([[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]) โดยการเพิ่มกำลังขยายขึ้นเป็น 20 เท่า<ref>{{Cite journal|first=Albert|last=Van Helden|title=The Telescope in the Seventeenth Century|journal=Isis|volume=65|issue=1|date=March 1974|pages=38–58|publisher=The University of Chicago Press on behalf of The History of Science Society|jstor=228880|doi=10.1086/351216}}</ref> เขาสามารถมองเห็นเทหฟากฟ้าได้ชัดเจนกว่าที่เคยเห็นโดยกล้องโทรทรรศน์เดิม ทำให้กาลิเลโอค้นพบดาวจันทร์ของกาลิเลโอได้ในช่วงราวเดือนธันวาคม พ.ศ. 2152 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2153<ref name=Galileo89>Galilei, Galileo, ''Sidereus Nuncius''. Translated and prefaced by Albert Van Helden. Chicago & London: University of Chicago Press 1989, 14–16</ref><ref>{{Cite book|title=The Starry Messenger|last=Galilei|first=Galileo|year=1610|location=Venice|url=http://www.bard.edu/admission/forms/pdfs/galileo.pdf|quote=On the seventh day of January in this present year 1610....|isbn=0-374-37191-1}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2153 กาลิเลโอได้เขียนจดหมายซึ่งกล่าวถึงดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก ซึ่งในขณะนั้นเขามองเห็นเพียงสามดวงและเขาเชื่อว่าดวงจันทร์เหล่านั้นมีตำแหน่งที่อยู่คงที่ใกล้กับดาวพฤหัสบดี เขายังได้สังเกตวงโคจรของดวงจันทร์ทั้งสามในระหว่างวันที่ 8 มกราคม ถึง 2 มีนาคม พ.ศ. 2153 ในระหว่างที่เฝ้าสังเกตดวงจันทร์ทั้งสามอยู่นั้นเขาก็ได้ค้นพบดวงจันทร์ดวงที่สี่และจากการสังเกตเขาได้ค้นพบว่าดวงจันทร์ทั้งสี่ไม่ได้อยู่คงที่แต่มันได้โคจรไปรอบๆดาวพฤหัสบดี<ref name=Galileo89/>
บรรทัด 110:
|}
 
=== ไอโอ (Io) ===
{{บทความหลัก|ไอโอ (ดาวบริวาร)}}
[[ไฟล์:Galilean moon Laplace resonance animation.gif|thumb|upright=1.2|The three inner Galilean moons revolve in a 4:2:1 resonance.]]
บรรทัด 120:
ถึงแม้ว่าจะยังไม่ได้รับการพิสูจน์จากข้อมูลล่าสุดจากยานกาลิเลโอออร์บิตเตอร์ (Galileo orbiter) ชื้ให้เห็นว่าไอโออาจจะมีสนามแม่เหล็กของมันเอง<ref>{{Cite journal| last=Porco|first=C. C.|authorlink=Carolyn Porco|title=Cassini imaging of Jupiter's atmosphere, satellites, and rings|journal=Science|volume=299|pages=1541–1547|year=2003|doi =10.1126/science.1079462| pmid=12624258| issue=5612|bibcode = 2003Sci...299.1541P| display-authors=1| last2=West| first2=RA| last3=McEwen| first3=A| last4=Del Genio| first4=AD| last5=Ingersoll| first5=AP| last6=Thomas| first6=P| last7=Squyres| first7=S| last8=Dones| first8=L| last9=Murray| first9=CD| first10=TV| first11=JA| first12=A| first13=G| first14=J| first15=JM| first16=T| first17=M| first18=JJ| first19=P| first20=P| first21=T| first22=H| first23=M| first24=AR }}</ref> ไอโอมีบรรยากาศที่เบาบางมากประกอบด้วย[[ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]] (SO<sub>2</sub>) เป็นส่วนมาก<ref>{{Cite journal| last=McEwen|first=A. S.|title=High-temperature silicate volcanism on Jupiter's moon Io|journal=Science|volume=281|pages=87–90|year=1998|doi =10.1126/science.281.5373.87| pmid=9651251| issue=5373|bibcode = 1998Sci...281...87M| display-authors=1| last2=Keszthelyi| first2=L| last3=Spencer| first3=JR| last4=Schubert| first4=G| last5=Matson| first5=DL| last6=Lopes-Gautier| first6=R| last7=Klaasen| first7=KP| last8=Johnson| first8=TV| last9=Head| first9=JW| first10=P| first11=S| first12=AG| first13=MH| first14=HH| first15=MJ }}</ref> หากมีการเก็บข้อมูลหรือตัวอย่างพื้นผิวโดยการส่งยานตรวจการณ์ (เช่นเดียวกับยานตรวจการณ์รูปร่างคล้าย[[รถถัง]]ของสภาพโซเวียต ขื่อ [[Venera]] landers) ลงจอดบนพื้นผิวของไอโอในอนาคต มันเป็นเรื่องที่ยากมากที่ยานเหล่านั้นจะสามารถอยู่รอดจากการแผ่รังสีและสนามแม่เหล็กซึ่งมีแหล่งกำเนิดจากดาวพฤหัสบดี<ref>{{Cite journal|last=Fanale|first=F. P.|year=1974|title=Io: A Surface Evaporite Deposit?|journal=Science|volume=186|issue=4167|pages=922–925|bibcode=1974Sci...186..922F|doi=10.1126/science.186.4167.922|pmid=17730914|display-authors=1|last2=Johnson|first2=T. V.|last3=Matson|first3=D. L.}}</ref>
 
=== ยูโรปา (Europa) ===
{{บทความหลัก|ยูโรปา (ดาวบริวาร)}}
 
บรรทัด 129:
รอยขีดที่ปรากฏอย่างเด่นชัดทั่วไปบนดวงจันทร์คือ[[ลักษณะแอลบีโด]]ซึ่งเป็นรอยลึกในภูมิประเทศ มีหลุมอุกกาบาตไม่มากนักบนยูโรปาเนื่องจากภูมิประเทศมีอายุน้อยและการเปลี่ยนแปลง<ref>Arnett, B.; ''[http://www.astro.auth.gr/ANTIKATOPTRISMOI/nineplanets/nineplanets/europa.html Europa]'' (November 7, 1996)</ref> บางทฤษฎีกล่าวว่าแรงดึงดูดของดาวพฤหัสบดีเป็นต้นเหตุของรอยเหล่านี้จากการที่ยูโรปาหันด้านหนึ่งเข้าหาดาวพฤหัสบดีตลอดเวลา รวมทั้งการปะทุของน้ำจากมหาสมุทรภายใต้เปลือกน้ำแข็งทำให้ผิวของดวงจันทร์แยกออกหรือแม้แต่น้ำพุไกเซอร์ (geyser) ก็เป็นสาเหตุของรอยขีดเหล่านี้ สีแดงน้ำตาลของรอยขีดเหล่านี้ ในทางทฤษฎีคาดว่าจะเกิดจากกำมะถัน แต่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัดเนื่องจากยังไม่มีการส่งเครื่องมือตรวจวัดใดๆไปที่ยูโรปา<ref>{{Cite web|title=Distribution of hydrate on Europa: Further evidence for sulfuric acid hydrate|url=http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6WGF-4G9Y58G-1&_user=10&_rdoc=1&_fmt=&_orig=search&_sort=d&view=c&_acct=C000050221&_version=1&_urlVersion=0&_userid=10&md5=5cf6924793fa56559bb84c45faafd445|first1=R.W.|last1=Carlson|author2=M.S. Anderson |year=2005|accessdate=2007-12-20}}</ref> องค์ประกอบของยูโรปาส่วนใหญ่เป็นหิน[[ซิลิกา]]และน่าจะมีแกนกลางเป็น[[เหล็ก]]มันมีบรรยากาศที่เบาบางโดยประกอบด้วยออกซิเจนเป็นหลัก
 
=== แกนีมีด (Ganymede) ===
{{บทความหลัก|แกนีมีด (ดาวบริวาร)}}
 
บรรทัด 138:
[[ไฟล์:Masses of Jovian moons.png|thumb|200px|Relative masses of the Jovian moons. Io and Callisto together are about 50%, as are Europa and Ganymede. The Galileans so dominate the system that all the other Jovian moons put together are not visible at this scale.]]
 
=== คาลลิสโต (Callisto) ===
{{บทความหลัก|คาลลิสโต (ดาวบริวาร)}}
คาลลิสโต ดวงจันทร์ลำดับที่ 4 และเป็นดวงสุดท้ายของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่สองของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4820.6 กิโลเมตร ซึ่งเป็นลำดับที่สามของ[[List of natural satellites by diameter|ดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ในระบบสุริยะ คาลลิสโตเป็นลูกสาวของกษัตริย์ลีคาโอนแห่งอาคาเดีย (Arkadian King Lykaon) และเป็ฯเป็นเพื่อนล่าสัตว์ของเทพธิดาอาร์ทิมิส (Artemis) คาลลิสโตไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ[[การสั่นพ้องของวงโคจร]]ของดวงจันทร์อีกสามดวงของกาลิเลโอดังนั้นจึงไม่ได้รับพลังงานความร้อนจากแรงน้ำขึ้นน้ำลง ([[Tidal locking|tidal heating]])<ref>{{Cite journal|last1=Musotto|first1=Susanna|author2=Varadi, Ferenc; Moore, William; Schubert, Gerald|title=Numerical Simulations of the Orbits of the Galilean Satellites|year=2002|volume=159|issue=2|pages=500–504|doi=10.1006/icar.2002.6939| bibcode=2002Icar..159..500M| journal = Icarus}}</ref> คาลลิสโตประกอบด้วย[[หิน]]และ[[น้ำแข็ง]]ในปริมาณที่เท่าๆกันซึ่งทำให้มันมีความหนาแน่นน้อยที่สุดในกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ คาลลิสโตเป็นดาวบริวารที่ถูกชนโดยอุกกาบาตอย่างหนักที่ใหญ่ที่สุดดาวหนึ่งในระบบสุริยะโดยมีแอ่งหลุมอุกกาบาตที่สำคัญคือแอ่ง [[Valhalla (crater)|Valhallaวัลฮัลลา]] มีความกว้างประมาณ 3000&nbsp;กิโลเมตร
 
คาลิสโตมีชั้นบรรยากาศที่เบาบางอย่างมากซึ่งประกอบด้วย[[คาร์บอนไดออกไซด์]]<ref>{{Cite journal|last=Carlson|first=R. W.|title=A Tenuous Carbon Dioxide Atmosphere on Jupiter's Moon Callisto|journal=Science|year=1999|volume=283|pages=820–821|doi=10.1126/science.283.5403.820| url=http://trs-new.jpl.nasa.gov/dspace/bitstream/2014/16785/1/99-0186.pdf|format=PDF|pmid=9933159|issue=5403|bibcode = 1999Sci...283..820C|display-authors=1|author2=<Please add first missing authors to populate metadata.> }}</ref> และโมเลกุลของ[[ออกซิเจน]]<ref>{{Cite journal|last=Liang|first=M. C.|title=Atmosphere of Callisto|journal=Journal of Geophysics Research|year=2005|volume=110|issue=E2|pages=E02003|doi=10.1029/2004JE002322| url=http://yly-mac.gps.caltech.edu/ReprintsYLY/N164Liang_Callisto%2005/Liang_callisto_05.pdf|format=PDF|bibcode=2005JGRE..11002003L|author2=Lane, B. F.|last3=Pappalardo|first3=R. T.|display-authors=3|author4=<Please add first missing authors to populate metadata.>}}</ref> การตรวจสอบพบว่าคาลิสโตอาจมีมหาสมุทรที่มีน้ำในรูปของเหลวอยู่ใต้พื้นผิวดาวที่ระดับความลึกมากกว่า 100 กิโลเมตร<ref>{{Cite journal|last1=Showman|first1=Adam P.|author2=Malhotra, Renu|title=The Galilean Satellites|year=1999|journal=Science|volume=286|pages=77–84|doi=10.1126/science.286.5437.77| url=http://www.lpl.arizona.edu/~showman/publications/showman-malhotra-1999.pdf|format=PDF|pmid=10506564|issue=5437}}</ref> การที่คาลลิโตน่าจะมีมหาสมุทรนั้นอาจหมายถึงว่าอาจมีหรือเคยมี[[มนุษย์ต่างดาว|สิ่งมีชีวิต]]บนคาลิสโต อย่างไรก็ดีความเป็นไปได้นั้นน้อยกว่าบนดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้กันอย่าง[[ยูโรปา (ดาวบริวาร)|ยูโรปา]]<ref>{{Cite journal|last=Lipps|first=Jere H.|title=Astrobiology of Jupiter's Icy Moons|journal=Proc. SPIE|year=2004|volume=5555|page=10|doi=10.1117/12.560356| url=http://learning.berkeley.edu/astrobiology/2004ppt/jupiter.pdf|format=PDF|author2=Delory, Gregory|last3=Pitman|first3=Joe|display-authors=3|author4=<Please add first missing authors to populate metadata.>|series=Instruments, Methods, and Missions for Astrobiology VIII|editor1-last=Hoover|editor1-first=Richard B|editor2-last=Levin|editor2-first=Gilbert V|editor3-last=Rozanov|editor3-first=Alexei Y}}</ref> คาลลิสโตได้รับการพิจารณาว่าเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับเป็นฐานที่อยู่ของมนุษย์สำหรับการสำรวจในอนาคตระบบดาวพฤหัสบดีเนื่องจากว่ามันอยู่ห่างไกลจากการแผ่รังสีอันรุนแรงของดาวพฤหัสบดีที่สุด<ref>{{Cite web|title=Revolutionary Concepts for Human Outer Planet Exploration (HOPE)|last1=Trautman|first1=Pat|author2=Bethke, Kristen|publisher=NASA|year=2003|url=http://www.nasa-academy.org/soffen/travelgrant/bethke.pdf|format=PDF}}</ref>