ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทางพิเศษแห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Art Choco Love (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 107:
ในปี [[พ.ศ. 2535]] มีการจัดตั้ง [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย|องค์การรถไฟฟ้ามหานคร]] เพื่อเป็นหน่วยงานที่ดูแลรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนโดยเฉพาะอันเนื่องมาจากการจราจรที่ติดขัดอย่างหนักในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเพื่อความคล่องตัวในการจัดการการก่อสร้างและการบริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
 
ต่อมาในปี 2550 คณะรัฐมนตรีและการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเข้าสู่[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ซึ่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยสาระสำคัญของพระราชบัญญัติฉบับนี้คือให้ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2515 และ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2530 รวมถึงการแก้ไขวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งซึ่งไม่เข้ากับยุคสมัย
 
== สายทางพิเศษ ==
บรรทัด 130:
 
== ระบบจัดเก็บค่าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ==
การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้เปิดให้บริการระบบจัดเก็บค่าผ่านทางระบบ[[อิเล็กทรอนิกส์]] (Electronic Toll Collection System: ETCs) โดยเรียกว่า Easy Pass เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553 ในสายทางพิเศษเฉลิมมหานคร, ทางพิเศษฉลองรัช และทางพิเศษวงแหวนรอบนอกด้านใต้ (บางพลี-บางขุนเทียน) และวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ในสายทางพิเศษศรีรัช กทพ. ได้นำ Easy Pass เข้ามาใช้แทนระบบ Tag ของเดิมที่ได้ถูกยกเลิกการใช้งานแล้ว เพื่อขยายปริมาณการรองรับการจราจรบริเวณหน้าด่านเก็บค่าผ่านทาง โดยสามารถทำได้สูงสุด 1200 คันต่อชั่วโมงต่อช่องทาง
 
== อ้างอิง ==