ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<br /> using AWB
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
}}
 
'''เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่''' (7 ธันวาคม พ.ศ. 2439 — 15 มิถุนายน พ.ศ. 2527) เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือท่านองค์หนึ่ง ทั้งเคยเป็นอดีตหม่อมชายาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
 
เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ เป็นพระธิดาใน[[เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)]] กับหม่อมมา ณ เชียงใหม่ มีเจ้าพี่เจ้าน้องต่างมารดาอีกสี่คนองค์ บิดาเจ้าพ่อของเจ้าลดาคำเป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวใน[[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 8 ในวัยเยาว์ได้ตามเสด็จ[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]]ที่มีศักดิ์เป็นเจ้าตนย่ามาพำนักอยู่ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] ซึ่งเจ้าดารารัศมี พระราชชายาได้ทรงอุปถัมภ์เจ้าลดาคำให้ศึกษาต่อที่[[ประเทศฝรั่งเศส]]ร่วมกับ[[เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่]]<ref>หนานอินแปง. พระราชชายา เจ้าดารารัศมี. กรุงเทพฯ : บางกอกบุ๊ค, 2546</ref>
 
เจ้าลดาคำ เสกสมรสครั้งแรกกับ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระธิดาสององค์ได้แก่
# ท่านผู้หญิง หม่อมเจ้า[[ฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี]] (27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 — 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2539) เสกสมรสและหย่ากับ[[หม่อมเจ้ารวิพรรณไพโรจน์ รพีพัฒน์]] ต่อมาได้ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับณรงค์ วงศ์ทองศรี มีพระบุตรจากการสมรสครั้งแรก 1 คน และจากการสมรสครั้งที่สอง 3 คน
# [[หม่อมเจ้าภัทรลดา ดิศกุล]] (21 มีนาคม พ.ศ. 2467 — 29 มีนาคม พ.ศ. 2551) เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล]] มีโอรสธิดาสองคน
 
หลังการหย่าร้างกับกรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธินแล้ว ก็ได้เสกสมรสใหม่กับเจ้าหนานเชา ณ เชียงใหม่ มีโอรสเพียงคนองค์เดียวคือ
# เจ้าลัญจ์ชัย ณ เชียงใหม่ ภายหลังได้สมรสและมีโอรสหนึ่งคนองค์และธิดาสองคนองค์
 
เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ พิราลัยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2527 สิริอายุชันษา 87 ปี
 
==พงศาวลี==