ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 66:
 
== การยึดทรัพย์นักการเมือง ==
{{คำพูด|เราเห็นว่าระบอบนี้ ถ้าจะดำเนินการต่อไปนั้น บ้านเมืองก็จะมีแต่ความล่มจม เพราะว่าทุกพรรคหรือนักการเมืองที่เข้ามา ต่างคนต่างฝ่ายก็มุ่งหน้าหาเงินเข้าพรรค เพื่อจะใช้ในการเลือกตั้ง เพื่อจะเอาชนะในการเลือกตั้ง จนมีคำกล่าวกันว่า[[คณะรัฐมนตรี]]แบบที่เป็นอยู่นั้น เขาเรียกว่า "บุฟเฟต์ คาบิเน็ต" คือเข้ามาเพื่อแย่งกันกิน”กิน}} [[สุจินดา คราประยูร|พลเอกสุจินดา คราประยูร]]ซึ่งเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดในครั้งนั้นกล่าวกับบรรณาธิการของ[[หนังสือพิมพ์]]ทุกฉบับในเช้าวันที่ [[24 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2534]]
 
“เราเห็นว่าระบอบนี้ ถ้าจะดำเนินการต่อไปนั้น บ้านเมืองก็จะมีแต่ความล่มจม เพราะว่าทุกพรรคหรือนักการเมืองที่เข้ามา ต่างคนต่างฝ่ายก็มุ่งหน้าหาเงินเข้าพรรค เพื่อจะใช้ในการเลือกตั้ง เพื่อจะเอาชนะในการเลือกตั้ง จนมีคำกล่าวกันว่า[[คณะรัฐมนตรี]]แบบที่เป็นอยู่นั้น เขาเรียกว่า "บุฟเฟต์ คาบิเน็ต" คือเข้ามาเพื่อแย่งกันกิน” [[สุจินดา คราประยูร|พลเอกสุจินดา คราประยูร]]ซึ่งเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดในครั้งนั้นกล่าวกับบรรณาธิการของ[[หนังสือพิมพ์]]ทุกฉบับในเช้าวันที่ [[24 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2534]]
 
รุ่งขึ้น "ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ 26" ลงนามโดย [[สุนทร คงสมพงษ์|พลเอกสุนทร คงสมพงษ์]] ก็ปรากฏออกมา แต่งตั้ง ให้ [[สิทธิ จิรโรจน์|พลเอกสิทธิ จิรโรจน์]] อดีต[[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย|รัฐมนตรีว่ากระทรวงมหาดไทย]]เป็นประธานกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน มี[[สุธี อากาศฤกษ์|นายสุธี อากาศฤกษ์]] [[มงคล เปาอินทร์|นายมงคล เปาอินทร์]] [[ไพศาล กุมาลย์วิสัย|นายไพศาล กุมาลย์วิสัย]] [[สุชาติ ไตรประสิทธิ์|นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์]] [[วิโรจน์ เปาอินทร์|พลตำรวจโทวิโรจน์ เปาอินทร์]] และ[[ชัยเชต สุนทรพิพิธ|นายชัยเชต สุนทรพิพิธ]] ร่วมเป็นกรรมการ ให้อำนาจในการอายัดและห้ามจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินของนักการเมืองที่มีพฤติกรรมอันอาจส่อแสดงว่ามีทรัพย์สินร่ำรวยผิดปรกติ