ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเก็บประจุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 55:
ตัวเก็บประจุก็มีค่าความต้านทานเสมือนเช่นเดียวกับตัวเหนี่ยวนำ รีแอคแตนซ์ตัวเก็บประจุ (สัญลักษณ์ Xc) เป็นค่าต้านทานของตัวเก็บประจุทางไฟฟ้ากระแสสลับ มีหน่วยการวัดเป็นโอห์ม (Ω) แต่รีแอคแตนซ์มีความซับซ้อนมากกว่าความต้านทาน เพราะค่าของมันขึ้นอยู่กับความถี่่ (f) ของสัญญาณไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ (C)
:<math>Xc = {1\over 2\pi f C} \,</math>
Xc รีแอคแตนซ์ตัวเก็บประจุมีค่ามากที่ความถี่ต่ำและค่าน้อยที่ความถี่สูง เช่นตัวเก็บประจุค่า 1µF มีรีแอคแตนซ์ 3.2kΩ ที่ความถี่ 50Hz แต่ที่ความถี่สูงกว่าเช่นที่ 10kHz จะมีค่ารีแอคแตนซ์เพียง 16Ω สำหรับดีซีคงที่ซึ่งความถี่เป็นศูนย์ Xc มีค่าเป็นอนันต์ (ความต้านทั้งหมด) เป็นที่มาของกฎที่ว่า ตัวเก็บประจุยอมให้เอซีกระแสสลับ(AC)ผ่านแต่ปิดกั้นดีซีกระแสตรง(DC)
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.chontech.ac.th/~electric/html/capacitor.htm วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี]