ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎สมาชิก: +แทนที่ "Io" → "ไอโอ" +แทนที่ "moon" → "ดาวบริวาร" +แทนที่ "Europa" → "ยูโรปา" +แทนที่ "Ganymede" → "แกนีมีด" +แทนที่ "Callisto" → "คัลลิสโต" ด้วยสจห.
ย้อนการแก้ไขที่ 7586916 สร้างโดย EZBELLA (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 50:
 
== สมาชิก ==
ในการจำลองเราคาดว่าดวงจันทร์ของกาลิเลโอได้ผ่านหลายยุคในช่วงเริ่มแรกของดาวพฤหัสบดี ดวงจันทร์ที่ก่อกำเนิดขึ้นอาจถูกดึงดูดเข้าหาดาวพฤหัสบดีและถูกทำลายลงเนื่องจากแรงดึงดูดของจานดวงจันทร์ก่อนเกิด ([[จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด|proto-lunar disk]]) เมื่อมีดวงจันทร์ดวงใหม่กำเนิดขึ้นจากชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ จนกระทั่งเกิดเป็นดวงจันทร์ดังเช่นในปัจจุบัน เศษชิ้นส่วนที่เหลืออยู่มีจำนวนน้อยลงจนไม่สามารถรบกวนวงโคจรของดวงจันทร์ได้<ref name="newsci">{{Cite web|url=http://www.newscientist.com/article/mg20126984.300-cannibalistic-jupiter-ate-its-early-ดาวบริวารsmoons.html|title=Cannibalistic Jupiter ate its early ดาวบริวารsmoons|last=Chown|first=Marcus|date=7 March 2009|work=[[New Scientist]]|accessdate=18 March 2009}}</ref> ไอโอ (ไอโอIo) เป็นดวงจันทร์ที่ไม่มีน้ำ ([[anhydrous]]) ภายในน่าจะประกอบด้วยหินและโลหะ<ref name="arxiv0812">{{cite journal |author=Canup, Robin M.; Ward, William R. |title=Origin of ยูโรปาEuropa and the Galilean Satellites |journal=The [[Astrophysical Journal]] |date=2008-12-30 |arxiv=0812.4995|bibcode = 2009euro.book...59C |page=59}}</ref> ยูโรปา (ยูโรปาEuropa) น่าจะมีน้ำและน้ำแข็งราว 8% โดยน้ำหนัก ส่วนที่เหลือคาดว่าจะเป็นหิน<ref name="arxiv0812"/> ข้อมูลของดวงจันทร์โดยเรียงลำดับตามระยะทางจากดาวพฤหัสบดี:
 
{| class="sortable wikitable"
บรรทัด 65:
! ความเยื้อง (<small>[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร|Eccentricity]])</small>
|-
| style="text-align:center;"| '''[[ไอโอIo (ดาวบริวารmoon)|ไอโอIo]]''' <br />''จูปิเตอร์Jupiter 1I''
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:ไอโอIo, ดาวบริวารmoon of Jupiter, NASA.jpg|121px]]
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:PIA01129 Interior of ไอโอIo.jpg|121px]]
| style="text-align:center;"| {{ค่า|3660.0}}<br />{{ค่า|p=×&thinsp;|3637.4}}<br />{{ค่า|p=×&thinsp;|3630.6}}
| style="text-align:center;"| {{sort|0893|{{ค่า|8.93|e=22}}}}
บรรทัด 76:
| style="text-align:center;"| 0.0041
|-
| style="text-align:center;"| '''[[ยูโรปาEuropa (ดาวบริวารmoon)|ยูโรปาEuropa]]''' <br />''Jupiter II''
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:ยูโรปาEuropa-ดาวบริวารmoon.jpg|104px]]
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:PIA01130 Interior of ยูโรปาEuropa.jpg|104px]]
| style="text-align:center;"| {{ค่า|3121.6}}
| style="text-align:center;"| {{sort|0480|{{ค่า|4.8|e=22}}}}
บรรทัด 87:
| style="text-align:center;"| 0.0094
|-
| style="text-align:center;"| '''[[แกนีมีดGanymede (ดาวบริวารmoon)|แกนีมีดGanymede]]''' <br />''Jupiter III''
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:แกนีมีดGanymede, ดาวบริวารmoon of Jupiter, NASA.jpg|175px]]
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:PIA18005-NASA-InsideแกนีมีดInsideGanymede-20140501a.png|175px]]
| style="text-align:center;"| {{ค่า|5262.4}}
| style="text-align:center;"| {{sort|1480|{{ค่า|1.48|e=23}}}}
บรรทัด 98:
| style="text-align:center;"| 0.0011
|-
| style="text-align:center;"| '''[[คัลลิสโตCallisto (moon)|Callisto]]''' <br />''Jupiter IV''
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:คัลลิสโตCallisto, ดาวบริวารmoon of Jupiter, NASA.jpg|160px]]
| style="background:black; text-align:center;"|[[ไฟล์:PIA01478 Interior of คัลลิสโตCallisto.jpg|160px]]
| style="text-align:center;"| {{ค่า|4820.6}}
| style="text-align:center;"| {{sort|1080|{{ค่า|1.08|e=23}}}}
บรรทัด 110:
|}
 
=== ไอโอ (ไอโอIo) ===
{{บทความหลัก|ไอโอ (ดาวบริวาร)}}
[[ไฟล์:Galilean ดาวบริวารmoon Laplace resonance animation.gif|thumb|upright=1.2|The three inner Galilean ดาวบริวารsmoons revolve in a 4:2:1 resonance.]]
 
ไอโอ เป็นดวงจันทร์ที่อยู่ด้านในสุดของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642&nbsp;กิโลเมตร เป็น[[List of ดาวบริวารsmoons by diameter|ดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ที่สุดเป็นอันดับที่สี่ในระบบสุริยะจักรวาล ได้รับชื่อตาม [[ไอโอIo (mythology)|ไอโอIo]] นักบวชของเฮรา ([[ฮีรา]]) ซึ่งต่อมาได้เป็นคนรักของซูส ([[ซูส]]). แต่มันถูกเรียกด้วยชื่อง่ายๆว่า “Jupiter I” หรือ “ดวงจันทร์ดวงแรกของดาวพฤหัสบดี (The first satellite of Jupiter)” จนถึงราวกลางศตวรรษที่ 20<ref name="marazzini"/>
 
ไอโอมีภูเขาไฟซึ่งยังไม่ดับอยู่มากกว่า 400 ลูก จึงทำให้ไอโอเป็นดาวที่มีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยามากที่สุดในระบบสุริยะจักรวาล<ref name=Lopes2004>{{Cite journal|last=Lopes|first=R. M. C.|year=2004|title=Lava Lakes on ไอโอIo: Observations of ไอโอIo's Volcanic Activity from Galileo NIMS During the 2001 Fly-bys|journal=Icarus|volume=169|issue=1|pages=140–174|bibcode=2004Icar..169..140L|doi=10.1016/j.icarus.2003.11.013|display-authors=1|last2=Kamp|first2=Lucas W|last3=Smythe|first3=William D|last4=Mouginis-Mark|first4=Peter|last5=Kargel|first5=Jeff|last6=Radebaugh|first6=Jani|last7=Turtle|first7=Elizabeth P|last8=Perry|first8=Jason|last9=Williams|first9=David A|first10=R.W}}</ref> พื้นผิวของมันเป็นรอยด่างด้วยภูเขามากกว่า 100 ลูก บางลูกมีความสูงมากกว่ายอดเขาเอเวอร์เรสบนโลก ([[ยอดเขาเอเวอเรสต์]])<ref name=Schenk2001>{{Cite journal|last=Schenk|first=P.|year=2001|title=The Mountains of ไอโอIo: Global and Geological Perspectives from ''Voyager'' and ''Galileo''|journal=Journal of Geophysical Research|volume=106|issue=E12|pages=33201–33222|bibcode=2001JGR...10633201S|doi=10.1029/2000JE001408|display-authors=1|last2=Hargitai|first2=Henrik|last3=Wilson|first3=Ronda|last4=McEwen|first4=Alfred|last5=Thomas|first5=Peter}}</ref> ส่วนประกอบหลักของไอโอเป็นหินซิลิกาห่อหุ้มแกนกลางซึ่งเป็นหินหลอมเหลวหรือไอออนซัลไฟด์ ซึ่งต่างจากดวงจันทร์ในระบบสุริยะชั้นนอกส่วนมากที่เป็นชั้นน้ำแข็งหนาห่อหุ้มแกนกลาง
 
ถึงแม้ว่าจะยังไม่ได้รับการพิสูจน์ จากข้อมูลล่าสุดจากยานกาลิเลโอออร์บิตเตอร์ (Galileo orbiter) ชื้ให้เห็นว่าไอโออาจจะมีสนามแม่เหล็กของมันเอง<ref>{{Cite journal| last=Porco|first=C. C.|authorlink=Carolyn Porco|title=Cassini imaging of Jupiter's atmosphere, satellites, and rings|journal=Science|volume=299|pages=1541–1547|year=2003|doi =10.1126/science.1079462| pmid=12624258| issue=5612|bibcode = 2003Sci...299.1541P| display-authors=1| last2=West| first2=RA| last3=McEwen| first3=A| last4=Del Genio| first4=AD| last5=Ingersoll| first5=AP| last6=Thomas| first6=P| last7=Squyres| first7=S| last8=Dones| first8=L| last9=Murray| first9=CD| first10=TV| first11=JA| first12=A| first13=G| first14=J| first15=JM| first16=T| first17=M| first18=JJ| first19=P| first20=P| first21=T| first22=H| first23=M| first24=AR }}</ref> ไอโอมีบรรยากาศที่เบาบางมากประกอบด้วย[[ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]] (SO<sub>2</sub>) เป็นส่วนมาก<ref>{{Cite journal| last=McEwen|first=A. S.|title=High-temperature silicate volcanism on Jupiter's ดาวบริวารmoon ไอโอIo|journal=Science|volume=281|pages=87–90|year=1998|doi =10.1126/science.281.5373.87| pmid=9651251| issue=5373|bibcode = 1998Sci...281...87M| display-authors=1| last2=Keszthelyi| first2=L| last3=Spencer| first3=JR| last4=Schubert| first4=G| last5=Matson| first5=DL| last6=Lopes-Gautier| first6=R| last7=Klaasen| first7=KP| last8=Johnson| first8=TV| last9=Head| first9=JW| first10=P| first11=S| first12=AG| first13=MH| first14=HH| first15=MJ }}</ref> หากมีการเก็บข้อมูลหรือตัวอย่างพื้นผิวโดยการส่งยานตรวจการณ์ (เช่นเดียวกับยานตรวจการณ์รูปร่างคล้าย[[รถถัง]]ของสภาพโซเวียต ขื่อ [[Venera]] landers) ลงจอดบนพื้นผิวของไอโอในอนาคต มันเป็นเรื่องที่ยากมากที่ยานเหล่านั้นจะสามารถอยู่รอดจากการแผ่รังสีและสนามแม่เหล็กซึ่งมีแหล่งกำเนิดจากดาวพฤหัสบดี<ref>{{Cite journal|last=Fanale|first=F. P.|year=1974|title=ไอโอIo: A Surface Evaporite Deposit?|journal=Science|volume=186|issue=4167|pages=922–925|bibcode=1974Sci...186..922F|doi=10.1126/science.186.4167.922|pmid=17730914|display-authors=1|last2=Johnson|first2=T. V.|last3=Matson|first3=D. L.}}</ref>
 
=== ยูโรปา (ยูโรปาEuropa) ===
{{บทความหลัก|ยูโรปา (ดาวบริวาร)}}
 
ยูโรปา ดวงจันทร์ลำดับที่สองของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีเป็นลำดับที่สองและมีขนาดเล็กที่สุดในกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3121.6 กิโลเมตร ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าดวงจันทร์ของโลกเราเพียงเล็กน้อย ชื่อ ยูโรปา (ยูโรปาEuropa) ตั้งตาม [[ยูโรปา|ยูโรปาEuropa]] เจ้าหญิงชาวฟีนีเซีย ([[ฟินิเชีย]]n) ซึ่งต่อมาได้เป็นคนรักของซูส ([[ซูส]]) และราชินิแห่งคริต ([[ครีต]]) แต่ชื่อนี้ไม่ได้ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายจนกระทั่งกลางศตวรรษที่ 20<ref name="marazzini"/>
 
ยูโรปาเป็นดาวที่ราบเรียบที่สุดในระบบสุริยะ<ref>{{Cite web|url=http://www2.jpl.nasa.gov/galileo/ดาวบริวารsmoons/europa.html|title=ยูโรปาEuropa: Another Water World?|year=2001|accessdate=9 August 2007|publisher=[[นาซา]], Jet Propulsion Laboratory|work=Project Galileo: Moons and Rings of Jupiter}}</ref> ด้วยชั้นของน้ำซึ่งคาดการณ์ว่าจะหนาถึง 100 กิโลเมตรห่อหุ้มแกนกลางของดาว พื้นผิวที่ราบเรียบประกอบขึ้นจากชั้นของน้ำแข็งขณะที่ส่วนที่อยู่ใต้ชั้นน้ำแข็งนั้นในทางทฤษฎีน่าจะเป็นน้ำในรูปของเหลว<ref name="ยูโรปาAlbedoEuropaAlbedo">{{Cite web|url=http://www.solarviews.com/eng/europa.htm|author=Hamilton, C. J.|title=Jupiter's Moon ยูโรปาEuropa}}</ref> ผิวที่ราบเรียบและมีอายุไม่มากนั้นสนับสนุนสมมุติฐานว่ามีมหาสมุทรอยู่ภายใต้พื้นผิวซึ่งอาจเป็นที่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ([[extraterrestrial life]])<ref>{{Cite web|url=http://people.msoe.edu/~tritt/sf/europa.life.html|title=Possibility of Life on ยูโรปาEuropa|last=Tritt|first=Charles S.|accessdate=10 August 2007|publisher=Milwaukee School of Engineering|year=2002}}</ref> พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นจากแรงน้ำขึ้นน้ำลงช่วยทำให้น้ำอยู่ในสภาพของเหลวและเป็นแรงผลักดันให้เกิดกิจกรรมทางธรณีวิทยาบนดวงจันทร์<ref name="geology">{{Cite web| url=http://geology.asu.edu/~glg_intro/planetary/p8.htm |title=Tidal Heating|accessdate=2007-10-20|work=geology.asu.edu |archiveurl = http://web.archive.org/web/20060329000051/http://geology.asu.edu/~glg_intro/planetary/p8.htm |archivedate = 2006-03-29}}</ref> สิ่งมีชีวิตอาจสามารถอาศัยอยู่บนยูโรปาภายใต้มหาสมุทรที่ถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็งซึ่งอาจคล้ายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกที่อาศัยบนโลก เช่น ปล่องความร้อนใต้มหาสมุทรลึก ([[ปล่องไฮโดรเทอร์มอล]]s) หรือ ทะเลสาบวอสตอก ([[Lake Vostok]]) ในทวีปแอนตาร์กติก<ref>''[http://science.nasa.gov/newhome/headlines/ast10dec99_2.htm Exotic Microbes Discovered near Lake Vostok]'', Science@NASA (December 10, 1999)</ref> สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในมหาสมุทรอาจคล้ายกับ[[จุลินทรีย์]]ที่อาศัย[[Deep ocean|ก้นมหาสมุทร]]บนโลก<ref>Jones, N.; [http://www.newscientist.com/article.ns?id=dn1647 ''Bacterial explanation for ยูโรปาEuropa's rosy glow''], NewScientist.com (11 December 2001)</ref> จนถึงขณะนี้ยังไม่มีหลักฐานที่บ่งชี้ว่ามีสิ่งมีชิวิตอยู่บนยูโรปา แต่จากความเป็นไปได้ที่มีน้ำในรูปของเหลวเป็นสิ่งเรียกร้องให้มีการส่งเครื่องมือตรวจวัดไปที่ยูโรปา<ref>{{Cite web|last=Phillips|first=Cynthia|url=http://www.space.com/2954-time-europa.html|title=Time for ยูโรปาEuropa|publisher=Space.com |date=28 September 2006 |deadurl=no |accessdate=5 January 2014}}</ref>
 
รอยขีดที่ปรากฏอย่างเด่นชัดทั่วไปบนดวงจันทร์ซึ่งคือ [[albedo feature]]s เป็นรอยลึกในภูมิประเทศ มีหลุมอุกกาบาตไม่มากนักบนยูโรปาเนื่องจากภูมิประเทศมีอายุน้อยและการเปลี่ยนแปลง<ref>Arnett, B.; ''[http://www.astro.auth.gr/ANTIKATOPTRISMOI/nineplanets/nineplanets/europa.html ยูโรปาEuropa]'' (November 7, 1996)</ref> บางทฤษฎีกล่าวว่าแรงดึงดูดของดาวพฤหัสบดีเป็นต้นเหตุของรอยเหล่านี้จากการที่ยูโรปาหันด้านหนึ่งเข้าหาดาวพฤหัสบดีตลอดเวลา รวมทั้งการปะทุของน้ำจากมหาสมุทรภายใต้เปลือกน้ำแข็งทำให้ผิวของดวงจันทร์แยกออกหรือแม้แต่น้ำพุไกเซอร์ (geyser) ก็เป็นสาเหตุของรอยขีดเหล่านี้ สีแดงน้ำตาลของรอยขีดเหล่านี้ ในทางทฤษฎีคาดว่าจะเกิดจากกำมะถัน แต่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัดเนื่องจากยังไม่มีการส่งเครื่องมือตรวจวัดใดๆไปที่ยูโรปา<ref>{{Cite web|title=Distribution of hydrate on ยูโรปาEuropa: Further evidence for sulfuric acid hydrate|url=http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6WGF-4G9Y58G-1&_user=10&_rdoc=1&_fmt=&_orig=search&_sort=d&view=c&_acct=C000050221&_version=1&_urlVersion=0&_userid=10&md5=5cf6924793fa56559bb84c45faafd445|first1=R.W.|last1=Carlson|author2=M.S. Anderson |year=2005|accessdate=2007-12-20}}</ref> องค์ประกอบของยูโรปาส่วนใหญ่เป็นหินซิลิกา ([[silicate]] rock) และน่าจะมีแกนกลางเป็นเหล็ก ([[เหล็ก]]) มันมีบรรยากาศที่เบาบางโดยประกอบด้วยออกซิเจน ([[oxygen]]) เป็นหลัก.
 
=== แกนีมีด (แกนีมีดGanymede) ===
{{บทความหลัก|แกนีมีด (ดาวบริวาร)}}
 
แกนีมีด ดวงจันทร์ลำดับที่สามของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ ได้ชื่อตามเทพเจ้าของกรีก [[แกนีมีด (เทพปกรณัม)|แกนีมีดGanymede]] ทำหน้าที่ผู้ถวายพระสุทธารส (cupbearer) และเป็นคนรักของซูส ([[ซูส]])<ref>{{Cite web| url = http://galileo.rice.edu/sci/observations/jupiter_satellites.html| title = Satellites of Jupiter| work = The Galileo Project| accessdate = 2007-11-24}}</ref> แกนิมิเป็น[[List of natural satellites by diameter|ดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ในระบบสุริยะ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5262.4 กิโลเมตร มันจึงมีขนาดใหญ่กว่าดาวอังคาร ([[ดาวพุธ|Mercury]]) - แต่มีมวลเพียงครึ่งเดียวของดาวอังคาร<ref name="nineplanets.org-แกนีมีดGanymede">{{Cite web|publisher=nineplanets.org|title=แกนีมีดGanymede|date=October 31, 1997|url=http://www.nineplanets.org/ganymede.html|accessdate=2008-02-27}}</ref> เนื่องจากแกนีมีดมีส่วนประกอบเป็นน้ำแข็งจำนวนมาก มันเป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวที่มีสนามแม่เหล็ก ([[แม็กนีโตสเฟียร์]]) ของตัวเองซึ่งน่าจะเกิดจาก[[การพาความร้อน]]ภายในแกนกลางที่เป็นเหล็กหลอมเหลว<ref>{{Cite journal|last=Kivelson|first=M.G.|title=The Permanent and Inductive Magnetic Moments of แกนีมีดGanymede|journal=Icarus|year=2002|volume=157|issue=2|pages=507–522|doi=10.1006/icar.2002.6834| url=http://www.igpp.ucla.edu/people/mkivelson/Publications/ICRUS1572507.pdf|format=PDF|bibcode=2002Icar..157..507K|author2=Khurana, K.K.|last3=Coroniti|first3=F.V.|display-authors=2}}</ref>
 
องค์ประกอบหลักของแกนีมีดเป็นหินซิลิกา ([[silicate|silicate rock]]) และน้ำในรูปของแข็ง และมีมหาสมุทรน้ำเค็มซึ่งเชื่อว่าอยู่ลึกราว 200 กิโลเมตรใต้พื้นผิวของแกนีมีดโดยถูกประกบไว้ด้วยชั้นของน้ำแข็ง<ref>{{Cite web|url=http://www.jpl.nasa.gov/releases/2000/aguganymederoundup.html|title=Solar System's largest ดาวบริวารmoon likely has a hidden ocean|accessdate=2008-01-11|date=2000-12-16|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=NASA}}</ref> แกนกลางที่เป็นโลหะของแกนีมีดชี้ว่าในอดีตแกนีมีดอาจจะมีความร้อนสูงมากกว่าในปัจจุบัน พื้นผิวของดาวประกอบด้วยพื่นที่สองประเภท - พื้นผิวที่มีสีเข้มและมีอายุน้อยกว่ากับพื้นผิวซึ่งมีอายุมากกว่าและเต็มไปด้วยร่องและแนว แกนีมีดเต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาตแต่ส่วนมากได้หายไปหรือสังเกตเห็นได้ยากเนื่องจากเปลือกน้ำแข็งที่ปกคลุมเหนือหลุมเหล่านั้น ดวงจันทร์มี[[บรรยากาศ]]เบาบางประกอบด้วย[[ออกซิเจน]]ในรูป O, O<sub>2</sub>, และอาจจะมี O<sub>3</sub> ([[โอโซน]]) และยังมีอะตอมของไฮโดรเจน ([[อะตอมไฮโดรเจน]])<ref>{{Cite journal|last=Hall|first=D.T.|title=The Far-Ultraviolet Oxygen Airglow of ยูโรปาEuropa and แกนีมีดGanymede|journal=The Astrophysical Journal|year=1998|volume=499|issue=1|pages=475–481| doi=10.1086/305604| bibcode=1998ApJ...499..475H|author2=Feldman, P.D.|last3=McGrath|first3=M.A.|display-authors=2|last4=Strobel|first4=D. F.}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Eviatar|first=Aharon|title=The ionosphere of แกนีมีดGanymede|journal=Plan.Space Sci.|year=2001|volume=49|issue=3–4|pages=327–336| doi=10.1016/S0032-0633(00)00154-9|url=http://www.tau.ac.il/~arkee/ganymop.ps|format=ps|bibcode=2001P&SS...49..327E|author2=Vasyliunas, Vytenis M.|last3=Gurnett|first3=Donald A.|display-authors=2}}</ref>
 
[[ไฟล์:Masses of Jovian ดาวบริวารsmoons.png|thumb|200px|Relative masses of the Jovian ดาวบริวารsmoons. ไอโอIo and คัลลิสโตCallisto together are about 50%, as are ยูโรปาEuropa and แกนีมีดGanymede. The Galileans so dominate the system that all the other Jovian ดาวบริวารsmoons put together are not visible at this scale.]]
 
=== คาลลิสโต (คัลลิสโตCallisto) ===
{{บทความหลัก|คาลลิสโต (ดาวบริวาร)}}
คาลลิสโต ดวงจันทร์ลำดับที่ 4 และเป็นดวงสุดท้ายของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ มีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่สองของกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4820.6 กิโลเมตร ซึ่งเป็นลำดับที่สามของ[[List of natural satellites by diameter|ดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่]]ในระบบสุริยะ คาลลิสโตเป็นลูกสาวของกษัตริย์ลีคาโอนแห่งอาคาเดีย (Arkadian King Lykaon) และเป็ฯเพื่อนล่าสัตว์ของเทพธิดาอาร์ทิมิส (Artemis) คาลลิสโตไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ[[การสั่นพ้องของวงโคจร]]ของดวงจันทร์อีกสามดวงของกาลิเลโอดังนั้นจึงไม่ได้รับพลังงานความร้อนจากแรงน้ำขึ้นน้ำลง ([[Tidal locking|tidal heating]])<ref>{{Cite journal|last1=Musotto|first1=Susanna|author2=Varadi, Ferenc; Moore, William; Schubert, Gerald|title=Numerical Simulations of the Orbits of the Galilean Satellites|year=2002|volume=159|issue=2|pages=500–504|doi=10.1006/icar.2002.6939| bibcode=2002Icar..159..500M| journal = Icarus}}</ref> คาลลิสโตประกอบด้วย[[Rock (geology)|หิน]]และ[[Volatiles|น้ำแข็ง]]ในปริมาณที่เท่าๆกันซึ่งทำให้มันมีความหนาแน่นน้อยที่สุดในกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอ คัลลิสโตCallisto is composed of approximately equal amounts of [[หิน|rock]] and [[Volatiles|ices]], which makes it the least dense of the Galilean ดาวบริวารsmoons. คาลลิสโตเป็นดาวบริวารที่ถูกชนโดยอุกกาบาตอย่างหนักที่ใหญ่ที่สุดดาวหนึ่งในระบบสุริยะโดยมีแอ่งหลุมอุกกาบาตที่สำคัญคือแอ่ง [[Valhalla (crater)|Valhalla]] มีความกว้างประมาณ 3000&nbsp;กิโลเมตร
 
คาลิสโตมีชั้นบรรยากาศที่เบาบางอย่างมากซึ่งประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ ([[คาร์บอนไดออกไซด์]])<ref>{{Cite journal|last=Carlson|first=R. W.|title=A Tenuous Carbon Dioxide Atmosphere on Jupiter's Moon คัลลิสโตCallisto|journal=Science|year=1999|volume=283|pages=820–821|doi=10.1126/science.283.5403.820| url=http://trs-new.jpl.nasa.gov/dspace/bitstream/2014/16785/1/99-0186.pdf|format=PDF|pmid=9933159|issue=5403|bibcode = 1999Sci...283..820C|display-authors=1|author2=<Please add first missing authors to populate metadata.> }}</ref> และโมเลกุลของออกซิเจน ([[ออกซิเจน]])<ref>{{Cite journal|last=Liang|first=M. C.|title=Atmosphere of คัลลิสโตCallisto|journal=Journal of Geophysics Research|year=2005|volume=110|issue=E2|pages=E02003|doi=10.1029/2004JE002322| url=http://yly-mac.gps.caltech.edu/ReprintsYLY/N164Liang_คัลลิสโตLiang_Callisto%2005/Liang_callisto_05.pdf|format=PDF|bibcode=2005JGRE..11002003L|author2=Lane, B. F.|last3=Pappalardo|first3=R. T.|display-authors=3|author4=<Please add first missing authors to populate metadata.>}}</ref> การตรวจสอบพบว่าคาลิสโตอาจมีมหาสมุทรที่มีน้ำในรูปของเหลวอยู่ใต้พื้นผิวดาวที่ระดับความลึกมากกว่า 100 กิโลเมตร<ref>{{Cite journal|last1=Showman|first1=Adam P.|author2=Malhotra, Renu|title=The Galilean Satellites|year=1999|journal=Science|volume=286|pages=77–84|doi=10.1126/science.286.5437.77| url=http://www.lpl.arizona.edu/~showman/publications/showman-malhotra-1999.pdf|format=PDF|pmid=10506564|issue=5437}}</ref> การที่คาลลิโตน่าจะมีมหาสมุทรนั้นอาจหมายถึงว่าอาจมีหรือเคยมี[[มนุษย์ต่างดาว|สิ่งมีชีวิต]]บนคาลิสโต อย่างไรก็ดีความเป็นไปได้นั้นน้อยกว่าบนดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้กันอย่าง[[ยูโรปาEuropa (ดาวบริวารmoon)|ยูโรปา]]<ref>{{Cite journal|last=Lipps|first=Jere H.|title=Astrobiology of Jupiter's Icy Moons|journal=Proc. SPIE|year=2004|volume=5555|page=10|doi=10.1117/12.560356| url=http://learning.berkeley.edu/astrobiology/2004ppt/jupiter.pdf|format=PDF|author2=Delory, Gregory|last3=Pitman|first3=Joe|display-authors=3|author4=<Please add first missing authors to populate metadata.>|series=Instruments, Methods, and Missions for Astrobiology VIII|editor1-last=Hoover|editor1-first=Richard B|editor2-last=Levin|editor2-first=Gilbert V|editor3-last=Rozanov|editor3-first=Alexei Y}}</ref> คาลลิสโตได้รับการพิจารณาว่าเป็นสถานที่ที่เหมาะสำหรับเป็นฐานที่อยู่ของมนุษย์สำหรับการสำรวจในอนาคตระบบดาวพฤหัสบดีเนื่องจากว่ามันอยู่ห่างไกลจากการแผ่รังสีอันรุนแรงของดาวพฤหัสบดีที่สุด<ref>{{Cite web|title=Revolutionary Concepts for Human Outer Planet Exploration(HOPE)|last1=Trautman|first1=Pat|author2=Bethke, Kristen|publisher=NASA|year=2003|url=http://www.nasa-academy.org/soffen/travelgrant/bethke.pdf|format=PDF}}</ref>
 
== โครงสร้างโดยเปรียบเทียบ ==