ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7579905 สร้างโดย 223.24.187.153 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ถูกต้องแม่นยำ}}
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| image =
| ภาพname = ไฟล์:สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ.jpg
| พระบรมนามาภิไธย = พระเทียรราชา
| birth_style = พระราชสมภพ
| พระปรมาภิไธย = สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
| วันพระราชสมภพbirth_date = [[พ.ศ. 2048]]
| วันสวรรคตdeath_date = [[พ.ศ. 2111]]
| พระราชบิดาfather = [[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]]
| พระอัครมเหสีqueen = [[สมเด็จพระสุริโยทัย]]
| พระราชมารดา =
| พระราชโอรส/ธิดาissue = [[พระราเมศวร (พระราชโอรสในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ)|พระราเมศวร]] <br> [[สมเด็จพระมหินทราธิราช]] <br> [[พระวิสุทธิกษัตรีย์]] <br> [[พระบรมดิลก]] <br> [[พระเทพกษัตรี]] <br> พระแก้วฟ้า <br> พระศรีเสาวราช
| พระอัครมเหสี = [[สมเด็จพระสุริโยทัย]]
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
| พระราชสวามี =
| succession = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
| พระราชโอรส/ธิดา = [[พระราเมศวร (พระราชโอรสในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ)|พระราเมศวร]] <br> [[สมเด็จพระมหินทราธิราช]] <br> [[พระวิสุทธิกษัตรีย์]] <br> [[พระบรมดิลก]] <br> [[พระเทพกษัตรี]] <br> พระแก้วฟ้า <br> พระศรีเสาวราช
| reign = พ.ศ. 2091-2108 (ครั้งที่ 1)<br > พ.ศ. 2110/2111-2111 (ครั้งที่ 2)
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
| ทรงราชย์enthronement = [[พ.ศ. 2091]] - [[พ.ศ. 2111]]
| รัชกาลก่อนหน้าpredecessor = [[ขุนวรวงศาธิราช]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| รัชกาลถัดมาsuccessor = [[สมเด็จพระมหินทราธิราช]]
| ระยะเวลาครองราชย์ = 20 ปี
| รัชกาลก่อนหน้า = [[ขุนวรวงศาธิราช]]
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระมหินทราธิราช]]
}}
'''สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า''' (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 15 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมี[[ช้างเผือก]]ในครอบครองถึง 7 เชือกช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า '''พระเจ้าช้างเผือก''' ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราว[[ขุนวรวงศาธิราช]] สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับอาณาจักรตองอู
 
'''สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ''' (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 15 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมี[[ช้างเผือก]]ในครอบครองถึง 7 เชือก จนได้รับการขนานพระนามว่า '''พระเจ้าช้างเผือก''' ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราว[[ขุนวรวงศาธิราช]] สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับอาณาจักรตองอู
 
==พระราชประวัติ==
{{พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์สุพรรณภูมิ}}
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เสด็จพระราชสมภพเมื่อ[[พ.ศ. 2048]] พระนามเดิมคือ '''พระเทียรราชา''' มีพระฐานันดรศักดิ์เป็น '''พระเยาวราช''' สันนิษฐานว่าเป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2]] อันประสูติจากสนม และเป็นพระอนุชาใน[[สมเด็จพระไชยราชาธิราช]]
 
ด้านชีวิตครอบครัว ทรงอภิเษกสมรสกับ'''[[สมเด็จพระสุริโยทัย]]''' และมีพระราชโอรสและพระราชธิดา 5 พระองค์คือ [[พระราเมศวร (พระราชโอรสในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ)|พระราเมศวร]] [[สมเด็จพระมหินทราธิราช|พระมหินทร์]] [[พระสวัสดิราช]] [[พระบรมดิลก]] และ[[พระเทพกษัตรี]] นอกจากนี้ยังอาจจะมีพระสนมอีก เพราะปรากฏพระนาม[[พระศรีเสาวราช]] [[พระแก้วฟ้า]] เป็นพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระองค์ด้วยในชั้นหลัง
เส้น 83 ⟶ 80:
 
=== สงครามช้างเผือก ===
[[พระเจ้าบุเรงนอง]] ผู้ครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งพระเจ้าหงสาวดีต่อจาก[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]] ทราบเรื่องช้างเผือก จึงส่งราชทูตเชิญพระราชสาส์นมาขอพระราชทานช้างเผือกสองช้าง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงให้เหตุผลเชิงปฏิเสธเพราะทรงเห็นด้วยกับ'''พระราเมศวร''' '''พระยาจักรี''' และ'''พระสุนทรสงคราม''' พระเจ้าบุเรงนองจึงถือสาเหตุนั้น ยกกองทัพมาตี[[กรุงศรีอยุธยา]] เมื่อ[[พ.ศ. 2106]] ด้วยกำลังพลสองแสนคน จัดเป็นทัพกษัตริย์หกทัพ ได้เตรียมทัพเรือพร้อมปืนใหญ่กับจ้างชาว[[โปรตุเกส]]อาสาสมัคร 400 คน เป็นทหารปืนใหญ่ ให้เมือง[[เชียงใหม่]]สนับสนุนเสบียงอาหาร โดยลำเลียงมาทางเรือ เปลี่ยนเส้นทางเดินทัพมาทางด่านแม่ละเมา เข้าตีหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทยมาตามลำดับเพื่อตัดกำลังที่จะยกมาช่วยกรุงศรีอยุธยา
ฝ่ายกรุงศรีอยุธยาเตรียมตัวป้องกันพระนคร โดยคาดว่าพม่าจะยกกำลังมาทางด่านเจดีย์สามองค์ ทำให้พระเจ้าบุเรงนองตี[[กำแพงเพชร|เมืองกำแพงเพชร]] [[สวรรคโลก]] [[สุโขทัย]] [[พิชัย]] และ[[พิษณุโลก]]ได้ ครั้นลงมาถึงเมือง[[ชัยนาท]] กองทัพพม่าก็ได้ปะทะกับกองทัพกรุงศรีอยุธยาของพระราเมศวร แต่ฝ่ายกรุงศรีอยุธยาต้านทานไม่ได้ต้องถอยกลับเข้ากรุงศรีอยุธยา กองทัพพม่าได้เข้าล้อมกรุงศรีอยุธยาไว้ แล้วระดมยิงปืนใหญ่เข้าในพระนครทุกวัน จนราษฎรได้รับความเดือดร้อนและเสียขวัญ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ต้องเสด็จไปเจรจากับพระเจ้าบุเรงนอง ที่พลับพลาบริเวณตำบล[[วัดหน้าพระเมรุ]] กับวัดหัสดาวาส ยอมเป็นไมตรี โดยได้มอบ[[ช้างเผือก]] 4 ช้าง พร้อมกับพระราเมศวร พระยาจักรี และพระสุนทรสงครามให้แก่พม่า โดยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงต่อรองขอดินแดนของอยุธยาทั้งหมดที่พระเจ้าบุเรงนองยึดไว้คืน พระเจ้าบุเรงนองก็ถวายคืนแต่โดยดี จากนั้นพม่าก็ถอยกลับไปหงสาวดี
เส้น 144 ⟶ 141:
{{สืบตำแหน่ง
| รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
| ตำแหน่ง = พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา]]
| ช่วงเวลา = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]] ([[พ.ศ. 2091]] -2108 (ครั้งที่ 1)<br > [[พ.ศ. 2110/2111]]-2111 (ครั้งที่ 2)
| ก่อนหน้า = [[ขุนวรวงศาธิราช]]
| วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 2091]])
| ถัดไป = [[สมเด็จพระมหินทราธิราช]]
| วาระถัดไป = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]] ([[พ.ศ. 2111]] - [[พ.ศ. 2112]])
}}
{{จบกล่อง}}