ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลพิษทางอากาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:AlfedPalmersmokestacks.jpg|thumb|upright=1.2|มลพิษทางอากาศจาก[[โรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์]]แห่งหนึ่ง]]
'''มลพิษทางอากาศ (Air pollution)''' คือการเกิด[[ฝุ่นละออง]] [[โมเลกุลชีวภาพ]] หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้น[[บรรยากาศของโลก]] เป็นสาเหตุของโรค การเสียชีวิตในมนุษย์ และทำลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ [[สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ]] หรือ[[สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง]]
 
ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จำเป็นต่อชีวิตบน[[โลก]] [[การลดลงของโอโซน]]ในชั้น[[สตราโทสเฟียร์]]เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ รวมถึง[[ระบบนิเวศ]]ของโลกด้วย
บรรทัด 12:
 
=== แหล่งกำเนิด ===
;=== จากธรรมชาติ (Natural source) ===
เป็นแหล่งที่เกิดมลพิษโดยธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งการเกิดมลพิษจากธรรมชาติมีผลกระทบน้อยมากตัวอย่างเช่น [[ไฟล์:การระเบิดของภูเขาไฟ.jpg|thumb|left|การระเบิดของภูเขาไฟก่อให้เกิด ควันและเถ้าถ่าน ในอากาศเป็นจำนวนมาก]]
* การระเบิดของภูเขาไฟ เกิดจากการที่[[แมกมา]]ใต้เปลือกโลกได้รับความร้อนจากแก่นโลกมากๆจนทำให้เกิดจากการยกตัวของแมกมาพุ่งออกมาตามรอยแยกของชั้น[[เปลือกโลก]]กลายเป็นลาวา ซึ่งการระเบิดของภูเขาไฟทำให้เกิดควันและเถ้าถ่านกระจายสู่อากาศเป็นจำนวนมาก<ref>http://www.vcharkarn.com/varticle/37243</ref>
บรรทัด 19:
* ฝุ่นละออง มีโดยทั่วไปพบได้ในทุกสถานที่ อาจจะมากหรือน้อยตามสถานที่นั้นๆ ฝุ่นละอองจะมีลักษณะเป็นอนุภาค[[ของแข็ง]]ขนาดเล็กที่ล่องลอยอยู่ใน[[อากาศ]] ซึ่งเกิดจากวัตถุที่ถูกทุบ ตี บด กระแทก จนแตกออกเป็นชิ้นส่วนเล็ก ๆ เมื่อถูกกระแสลมพัดก็จะปลิวกระจายตัวอยู่ในอากาศ และตกลงสู่พื้นในเวลาต่อมา ซึ่งเวลาในการตกจะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับน้ำหนักของอนุภาค[[ฝุ่น]] แหล่งกำเนิดของฝุ่นจะแสดงถึงคุณสมบัติ[[ความเป็นพิษ]]ของฝุ่นด้วย เช่น [[แอสเบสตอส]] [[ตะกั่ว]] [[ไฮโดรคาร์บอน]] [[กัมมันตรังสี]] ฝุ่นละอองใน[[บรรยากาศ]] เป็นปัญหามลพิษทางอากาศที่สำคัญในเมืองใหญ่และเมืองที่กำลังพัฒนา จึงอาจนำไปสู่การส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรง และทางอ้อม<ref>https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi4/fun/fun.htm</ref>
 
; จากฝีมือมนุษย์ (Man-Made source)
มนุษย์เป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศมากที่สุด เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ[[ประชากรมนุษย์]]ส่งผลให้เกิดความต้องการบริโภค[[พลังงาน]] [[เชื้อเพลิง]] ทั้งในครัวเรือน ภาค[[อุตสาหกรรม]] และภาค[[เกษตรกรรม]] ที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ[[ภูมิอากาศ]]ทั้งสิ้น สามารถแยกประเภทมลพิษที่เกิดจากฝีมือมนุษย์ได้ดังนี้<ref>วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 เรื่อง มลพิษทางอากาศในระดับภูมิภาคและการแพร่กระจายในระยะทางไกล: (1) ภูมิภาคเอเชียตะวันออก</ref>
* [[ไฟล์:ฝุ่นละอองในธรรมชาติ.jpg|thumb|center|ปัญหามลพิษทางอากาศที่เกิดจากยานพาหนะ]]