ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญายอดเชียงราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขเล็กน้อย
แก้
บรรทัด 35:
ประวัติศิลาจารึก
 
พระญายอดเชียงราย ได้จารึกประวัติการสร้างวัดวิหารร่ำเปิงลงในศิลาจารึก ซึ่งเรียกว่า สิลาฝักขาม (ตัวหนังสือฝักขาม) ดังมีใจความว่า “สองพันสามสิบห้าปีจุลศักราชได้แปดร้อยห้าสิบสีตัวในปีเต๋าใจ๋ (เหนือ) เดือนวิสาขะไทยว่าเดือนเจ็ดออก (ขึ้น) สามค่ำวันศุกร์ไทย ได้ฤกษ์อันถ้วนสอง ได้โยคขื่ออายูสมะ ยามกลองงายแล่วสองลูกนาที” ซึ่งแปลเป็นภาษาปัจจุบันว่า “วันศุกร์ขึ้นสามค่ำเดือนเจ็ด ปีชวด พ.ศ. 2035 เวลา 08.20 น. ได้ฤกษ์ภรณี (ดาวงอนไถ) ได้โยคมหาอุจจ์” คือการก่อสร้างวัดได้ส่วนกันทั้งทางฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักร โดยพระองค์ได้ทรงมีพระราชบัญชาให้พระมเหสีชื่อ พระนางอะตะปาเทวี เป็นผู้ดำเนินการสร้าง พระนางอะตะปาเทวี ได้ประชุมและแต่งตั้งกรรมการดังต่อไปนี้
 
รายนามพระมหาเถระ
บรรทัด 69:
๘. เจ้าหมื่นโสม ราชัณฑ์คริก
 
ภายหลังจาการสร้างวัดวาอารามเป็นอันมาก พระญายอดเชียงรายทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง พระองค์ทรงเลื่อมใสและทำนุบำรุงพุทธศาสนาในตลอดรัชกาลของพระองค์และทรงร้องขอให้พระนางอะตะปาสิริยศวดีเทวี ให้นำราชบุตรของตนขึ้นครองราชแทนพระองค์ นั่นคือ[[พญาแก้ว|พญาแก้ว(พระเมืองแก้ว)]] หรือ'''พระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ''' ขึ้นครองราชแทนพระองค์ ได้รับราชาภิเษกเมื่อชนมายุ 13 ปี ในวันเพ็ญเดือน 9 พ.ศ. 2039 ก่อนที่พระญายอดเชียงรายจะลาทรงผนวชอย่างเงียบๆกับพระอรหันต์ที่เป็นพระอาจารย์
 
== อ้างอิง ==