ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิเต๋า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ เสริฐ บินเดี่ยว (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ดูที่=เต๋า (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:Yin yang.svg|thumb|สัญลักษณ์ หยิน-หยาง]]
'''ลัทธิเต๋า''' หรือ '''ศาสนาเต๋า''' ({{lang-zh|道教}} ''Dàojiao''; {{lang-en|Taoism}}) เป็น[[ศาสนา]]เกี่ยวกับการดำรงชีวิตอยู่กับ[[ธรรมชาติ]] โดยคำว่า '''[[เต๋า]]''' แปลว่า "มรรค" หรือ "หนทาง" ซึ่งไม่สามารถรู้ได้ด้วยอักษรและชื่อ ถ่ายทอดไม่ได้
 
[[เล่าจื๊อ]] [[ศาสดา]]ของศาสนาเต๋าได้เขียนข้อความสื่อถึง "[[เต๋า]]" ไว้ใน[[คัมภีร์]] "[[เต้าเต๋อจิง]]" (道德經 ''Dàodéjīng'')
 
แนวคิดสำคัญอีกประการหนึ่งในศาสนาเต๋าคือเรื่อง "[[ยินหยาง]]" ซึ่งหมายถึง ธรรมชาติที่เป็นของคู่ตรงกันข้าม สิ่งที่เป็นของคู่
 
# '''ยิน''' (陰 ''yīn'') คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็นพลังความมืด พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความหนาวเย็น ความมืด อ่อนนุ่ม ชื้นแฉะ ลึกลับ และเปลี่ยนแปลง เช่น เงามืด น้ำ ฯลฯ
# '''หยาง''' (陽 ''yáng'') คือพลังบวกมีลักษณะสีขาว เป็นพลังแสงสว่าง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ความอบอุ่น สว่างไสว มั่นคง สดใส เช่น ดวงอาทิตย์ ไฟ ฯลฯ
 
[[เอกภพ]]เกิดขึ้นโดยมีหยินและหยาง จากการปะทะกันของสองสิ่งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างก็อุบัติขึ้นมา ทุกสิ่งทุกอย่างมีพลังทั้งสองนี้ทั้งนั้น บางครั้งหยินอาจมีพลังแข็งแรง แต่บางครั้ง หยาง ก็มีพลังมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ท่อนไม้ ตามปกติเป็นหยิน แต่เมื่อโยนเข้าไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูปเป็นหยางไป ในชีวิตหยินและหยางก่อให้เกิดความล้มเหลวและความสำเร็จ เป็นต้น เช่นเดียวกัน หยางและหยินไม่ใช่เป็นตัวแทนของความดีและความชั่ว แต่ทั้งสองนี้มีความจำเป็นต่อกฎเกณฑ์และระเบียบของเอกภพ ทั้งสองนี้ไม่ใช่อยู่ในภาวะปะทะกันตลอดเวลา แต่ยามใดมีความสามัคคีกัน ทั้งสองอย่างนี้ก็เป็นสิ่งดีด้วยกัน
 
== อ้างอิง ==
<div style="overflow:scroll;height:300px;">