ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 95:
 
==การเมืองและรับตำแหน่งรัฐมนตรี ==
พระยาเทพหัสดิน เคยดำรงตำแหน่ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 จังหวัดพระนคร]] (ส.ส.พระนคร) [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476|จากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2476]] ซึ่งถือว่าเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกด้วย<ref>อาร์วายทีไนน์,[http://www.ryt9.com/s/refg/186966 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก] </ref><ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/D/2625.PDF ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1]</ref> และมีตำแหน่งเป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
 
ต่อมาในบั้นปลายชีวิต ได้รับพระราชทานยศสูงสุดเป็น [[พลเอก]] (พล.อ.) และได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาล[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491 ซึ่งกลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหลัง[[รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490|จากรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2490]] และ[[รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491|รัฐประหาร พ.ศ. 2491]] ซึ่งก่อนหน้าการรัฐประหาร พ.ศ. 2491 ไม่นาน พระยาเทพหัสดินก็เป็นหนึ่งในผู้ที่สนับสนุนให้ จอมพล ป. กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง<ref>''นายควง อภัยวงศ์ กับพรรคประชาธิปัตย์'' โดย ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม (กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. 2522)</ref>
 
== อ้างอิง ==
* เนตรเฉลา สิงหะ สุตเธียรกุล บรรณาธิการ, "จงรักเกียรติยิ่งชีวิต" พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ 2549 กรุงเทพฯ
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* เนตรเฉลา สิงหะ สุตเธียรกุล บรรณาธิการ, "จงรักเกียรติยิ่งชีวิต" พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ 2549 กรุงเทพฯ
 
{{ประธานสภาผู้แทนราษฎร}}