ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผนลับ 20 กรกฎาคม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เบื้องหลัง: +แทนที่ "ไลป์ซิจ" → "ไลพ์ซิจ" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "แวร์แนร์ ฟอน แฮฟเทน" → "แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน" +แทนที่ "แฮฟเทน" → "แฮฟเทิน" ด้วยสจห.
บรรทัด 46:
ไฟล์:Claus von Stauffenberg (1907-1944).jpg|พันเอก [[เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก]]
ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1969-168-07, Friedrich Fromm.jpg|พลเอก [[ฟรีดริช ฟรอมม์]]
ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146III-347, Werner Karl v. Haeften.jpg|ร้อยโท [[แวร์แนร์แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทนฟเทิน]]
</gallery>
 
บรรทัด 94:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1972-025-64, Hitler-Attentat, 20. Juli 1944.jpg|thumb|left|162px|ทหารกำลังถือกางเกงที่ฮิตเลอร์สวมระหว่างความพยายามลอบสังหารที่ไม่เป็นผล<ref>Galante, Pierre. ''Operation Valkyrie''. Harper and Row, 1981, ISBN 0060380020. Photo insert section.</ref>]]
 
ในขณะที่กำลังเดินไปที่รถยนต์ ชเตาฟ์เฟนแบร์กได้ยินเสียงระเบิดและเห็นควันลอยออกจากหน้าต่างที่แตกของโรงทหารคอนกรีตนั้น ก็เชื่อว่าฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว จึงโดดขึ้นรถทหารของเขาพร้อมนายทหารผู้ช่วย ร้อยโทแวร์แนร์แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทนฟเทิน และหลอกผ่านด่านตรวจสามแห่งก่อนออกจากรังหมาป่า จากนั้นร้อยโทแฮฟเทนฟเทินได้โยนแท่งระเบิดลูกที่สองที่ไม่ได้ใช้และยังไม่ได้แทงเข็มแทงชนวนเข้าไปในป่า ขณะเร่งรุดไปยังสนามบินรัสเทนบูร์กทันก่อนทราบว่าชเตาฟ์เฟนแบร์กอาจรับผิดชอบต่อเหตุระเบิดดังกล่าว เมื่อเวลา 13.00 น. เขานั่งเครื่องไฮน์เคิล เฮอ 111 ที่พลเอกแอดวร์ท วากเนอร์ จัดเตรียมไว้ให้
 
เมื่อเครื่องบินของชเตาฟ์เฟนแบร์กถึงกรุงเบอร์ลินเมื่อเวลาราว 16.00 น.<ref>[http://ondemand-mp3.dradio.de/file/dradio/2010/07/20/dlf_20100720_1423_950da222.mp3 German radio broadcast 10 July 2010] on [[Deutschlandfunk]] (MP3; in German)</ref><ref>[http://www.br-online.de/bayern1/mittags-in-mainfranken/regionalnews-frankenmagazin-stauffenberg-ID1279545336073.xml German radio broadcast 10 July 2010] on [[Bayerischer Rundfunk|Bayern1]] (written version; in German)</ref> นายพล[[แอริช เฟ็ลล์กีเบิล]] นายทหารที่รังหมาป่าซึ่งอยู่ในแผนลับด้วย โทรศัพท์ถึงเบนด์แลร์บล็อกและบอกผู้ก่อการว่าฮิตเลอร์รอดชีวิตจากการระเบิด ผลคือ การระดมปฏิบัติการวาลคีรีจะไม่มีโอกาสสำเร็จเมื่อนายทหารกำลังรักษาดินแดนทราบว่าฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ มีความสับสนยิ่งขึ้นอีกเมื่อเครื่องบินของชเตาฟ์เฟนแบร์กลงจอดและเขาโทรศัพท์จากสนามบินและว่าแท้จริงฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว<ref name="Kutrz, Harold 1974, p. 227">Kutrz, Harold, ''July Plot'' in Taylor 1974, p. 227.</ref> ผู้ก่อการที่เบนด์เลอร์บล็อกไม่รู้จะเชื่อใครดี สุดท้ายเมื่อเวลา 16.00 น. ออลบริชท์ออกคำสั่งให้ดำเนินปฏิบัติการวาลคิรี ทว่าพลเอก ฟรอมม์ผู้ลังเลโทรศัพท์หาจอมพลวิลเฮล์ม ไคเทิลและได้รับการยืนยันว่าฮิตเลอร์รอดชีวิต ไคเทิลต้องการทราบที่อยู่ของชเตาฟ์เฟนแบร์ก ซึ่งเป็นการบอกฟรอมม์ว่ามีการสืบแผนลับมาถึงสำนักงานใหญ่ของเขาแล้ว และเขาอยู่ในอันตรายใหญ่หลวง ฟรอมม์ตอบไปว่าเขาคิดว่าชเตาฟ์เฟนแบร์กอยู่กับฮิตเลอร์ <ref>Galante, pp. 11–12</ref>
 
ขณะเดียวกัน [[คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล]] ผู้ว่าการทหารในดินแดนยึดครองฝรั่งเศส จัดการปลดอาวุธเอสเดและเอ็สเอ็ส และจับตัวผู้นำส่วนใหญ่ได้ เขาเดินทางไปยังสำนักงานใหญ่ของ[[กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ]]และขอให้เขาติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ทว่า เขาได้รับแจ้งว่าฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่<ref name="Kutrz, Harold 1974, p. 227"/> เวลา 16.40 น. ชเตาฟ์เฟนแบร์กและแฮฟเทนมาถึงเบนด์แลร์บล็อกชเตาฟ์เฟนแบร์กและแฮฟเทินมาถึงเบนด์แลร์บล็อก ฟรอมม์เปลี่ยนฝ่ายและพยายามจับตัวชเตาฟ์เฟนแบร์ก ซึ่งเข้าใจว่าพยายามปกป้องตัวเอง ออลบริชและชเตาฟ์เฟนแบร์กจึงใช้ปืนกักขังเขาไว้ แล้วออลบริชท์แต่งตั้งให้พลเอกแอริช เฮิพแนร์ ปฏิบัติหน้าที่แทนเขา
 
ถึงขณะนี้ ฮิมม์เลอร์เข้าควบคุมสถานการณ์และออกคำสั่งยกเลิกคำสั่งดำเนินการปฏิบัติการวาลคิรีของออลบริชท์ ในหลายพื้นที่ รัฐประหารยังดำเนินไป นำโดยนายทหารซึ่งเชื่อว่าฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว ในกรุงเบอร์ลิน พลเอก พอล ฟอน ฮาเซอ หัวหน้านครและผู้ก่อการ ออกคำสั่งกองพลกรอสส์ดอยท์ชลันด์ ภายใต้บังคับบัญชาของพันตรี [[ออทโท แอร์นสท์ เรแมร์]] ยึดวิลเฮล์มสตรัสเซอและจับตัวรัฐมนตรีโฆษณาการ [[โยเซฟ เกิบเบิลส์]]<ref name="Galante, p. 209">Galante, p. 209</ref> ในกรุง[[เวียนนา]] กรุง[[ปราก]] และอีกหลายแห่ง ทหารยึดครองสำนักงานพรรคนาซีและจับกุม[[เกาไลแตร์]]และนายทหารเอ็สเอ็สไว้
บรรทัด 108:
เวลาแตกหักมาถึงเมื่อเวลา 19.00 น. เมื่อฮิตเลอร์ฟื้นตัวเพียงพอจะโทรศัพท์ เขาโทรหาเกิบเบลส์ที่กระทรวงโฆษณาการ เกิบเบลส์จัดแจงให้ฮิตเลอร์คุยกับพันตรีเรแมร์ ผู้บังคับบัญชาทหารที่ล้อมกระทรวงอยู่ หลังจากยืนยันแล้วว่าเขายังมีชีวิตอยู่ ฮิตเลอร์สั่งให้เรแมร์ควบคุมสถานการณ์ในกรุงเบอร์ลินอีกครั้ง พันตรีเรแมร์สั่งให้ทหารของเขาล้อมและปิดเบนด์เลอร์บล็อก แต่ไม่เข้าไปในอาคาร <ref name="Galante, p. 209"/> เมื่อเวลา 20.00 น. วิทเซลเบินผู้โกรธจัดมาถึงเบนด์แลร์บล็อกและมีการโต้เถียงอย่างขมขื่นกับชเตาฟ์เฟนแบร์ก ผู้ยังยืนยันว่าสามารถดำเนินรัฐประหารต่อไปได้ จากนั้นไม่นานวิทเซลเบินก็ออกไป เวลาใกล้เคียงกันนี้ การยึดอำนาจที่วางแผนไว้ในกรุงปารีสถูกยกเลิกเมื่อจอมพล กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ ซึ่งเพิ่งได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดทางตะวันตก ทราบว่าฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่
 
เมื่อเรแมร์เข้าควบคุมสถานการณ์ในกรุงเบอร์ลินและข่าวสะพัดไปว่าฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ สมาชิกที่ไม่ค่อยเด็ดเดี่ยวของการคบคิดในกรุงเบอร์ลินเริ่มเปลี่ยนฝ่าย มีการต่อสู้ในเบนด์แลร์บล็อกระหว่างนายทหารที่สนับสนุนและคัดค้านรัฐประหาร และชเตาฟ์เฟนแบร์กได้รับบาดเจ็บ เมื่อเวลา 23.00 น. ฟรอมม์กลับเข้าควบคุม และหวังว่าการแสดงความภักดีอย่างออกนอกหน้าจะช่วยเขาได้ เมื่อเบคทราบว่าสถานการณ์สิ้นหวัง ยิงตัวตาย เป็นผู้ฆ่าตัวตายคนแรกในหลายวันให้หลัง แม้ทีแรกเบคเพียงแค่ทำให้ตัวบาดเจ็บสาหัสเท่านั้น เขาถูกทหารยิงที่คอ ฟรอมม์จัดศาลทหารเฉพาะหน้าอันประกอบด้วยตัวเขาเอง และพิพากษาลงโทษประหารชีวิตออลบริชท์ ชเตาฟ์เฟนแบร์ก แฮฟเทนฟเทิน และออลบริชท์ แมร์ทซ์ ฟอน เควียร์นไฮม์ นายทหารอีกคน เมื่อเวลา 00.10 น. ชอองวันที่ 21 กรกฎาคม พวกเขาถูกประหารชีวิตในลานด้านนอก ซึ่งอาจเป็นเพื่อป้องกันไม่ให้พวกเขาเปิดเผยการมีส่วนของฟรอมม์<ref name="Taylor 1974, p. 227">Taylor 1974, p. 227.</ref> มีผู้อื่นจะถูกประหารชีวิตอีกเช่นกัน แต่เมื่อเวลา 00.30 น. เอ็สเอ็สนำโดย[[ออทโท สกอร์เซนี]]มาถึงและห้ามประหารชีวิตเพิ่ม
 
== ผลสืบเนื่อง ==