ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
The Royal Lineage (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมไฮเปอร์ลิงค์สำหรับการอ้างอิงและกระชับข้อมูลให้อ่านได้ง่ายขึ้น
บรรทัด 24:
| party =
}}
'''พลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ''' ([[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2433]] - [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2510]]) อดีตองคมนตรี อดีต[[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]] อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรี[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|เทศบาลนครกรุงเทพฯ]] และ อดีตนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]คนแรก
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 54:
* [[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]]
* ผู้ช่วยราชการทหารเรือ
* ผู้บังคับการ'''[[กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์]] ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''(ร๑. รอ.)
* จเรกรมทหารรักษาวัง รอ. ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
* อุปนายก[[กองเสือป่า|เสือป่า]]
บรรทัด 61:
* ผู้บัญชาการกรมมหรสพ
* อุปนายกผู้อำนวยการ วชิรพยาบาล
* กรรมการผู้จัดการ แบงค์ลีฟอเทีย ([[ธนาคารออมสิน]]<ref>[https://www.gsb.or.th/about-us/bank-museum/%e0%b8%a7%e0%b8%a7%e0%b8%92%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0%b8%aa%e0%b8%99/%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%b2/%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a7%e0%b8%95%e0%b8%98%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%84%e0%b8%b2%e0%b8%a3.aspx https://www.gsb.or.th/about-us/bank-museum/ววฒนาการออมสน/ความเปนมา/ประวตธนาคาร.aspx]</ref> ([[ธนาคารออมสิน]])
* กรรมการที่ปรึกษาสำหรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันมีศักดิ์รามาธิบดี
* กรรมการที่ปรึกษาสภากาชาดสยาม
บรรทัด 69:
* สภานายกราชตฤณมัย แห่งสยาม
 
หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ จึงออกไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถึงพ.ศ. 2477 จึงเดินทางกลับประเทศไทย ได้พำนักอยู่ที่บ้านบุญญาศรัย ถนนราชดำริ 1 ปี จึงมาพำนักที่[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|บ้านนรสิงห์]] ถึงปี พ.ศ. 2484 ขายบ้านนรสิงห์ให้รัฐบาล แล้วย้ายไปพำนักที่บ้านท่าเกษม ตำบลบางขุนพรหม ถึงปี พ.ศ. 2505 จึงขายบ้านท่าเกษมให้กับ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] (เป็นโรงพิมพ์ธนบัตร ในปัจจุบันนี้) ท้ายที่สุด ใน[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|รัชกาลที่ 9]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบ้านให้พำนัก ที่ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี ท่านขนานนามบ้านนี้ว่า "บ้านพระขรรค์ชัยศรี" และพำนัก ณ ที่นี้จนถึงอสัญกรรม
 
ด้านการเมือง ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นนายกเทศมนตรี[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|เทศบาลนครกรุงเทพฯ]] คนแรก เมื่อปี พ.ศ. 2480 โดยมี[[พระยาภะรตราชา]] (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) เป็นปลัดเทศบาลนครกรุงเทพฯ คนแรก
 
เมื่อพ้นจากตำแหน่งนายกเทศมนตรีแล้ว เจ้าพระยารามราฆพคงเป็นข้าราชการบำนาญและเป็นที่ปรึกษาราชการในพระราชสำนักต่อมาจนถึงสมัยหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ใน พ.ศ. 2506 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ]] (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบ[[สำนักพระราชวัง]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยารามราฆพ รับราชการในหน้าที่ สมุหพระราชวัง และ ประธานกรรมการพระราชสำนัก นอกจากนั้นท่านยังได้สนองพระเดชพระคุณในหน้าที่ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวอีกหลายหน้าที่ เช่น เป็นสภานายกสภา[[ลูกเสือ]]แห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและอุปนายกในคณะกรรมการอำนวยการ[[วชิราวุธวิทยาลัย]] กับยังเป็นประธานกรรมการ ในบริษัทเอกชนอีกหลายบริษัท ที่สำคัญ คือ เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้ง[[ธนาคารกรุงเทพ]]<ref>digi.library.tu.ac.th/thesis/ec/0815/15ภาคผนวกก.pdf</ref> [[ธนาคารกรุงเทพ]]
 
=== ครอบครัว ===