ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟซบุ๊ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{กล่องข้อมูล เว็บไซต์ | name = Facebook-- | logo = ไฟล์:Facebook_New_Logo_(2015).svg|220px..."
บรรทัด 19:
}}
 
ข้อมูล ณ วันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2554]] จากเฟซบุ๊กมีจำนวน'''เฟซบ'''นสมาชิกทั้งหมด 584,628,480 สมาชิกทั่วโลก โดยเป็นสมาชิกจาก[[ประเทศไทย]] รวม 6,914,800 สมาชิก
'''เฟซบุ๊ก''' ({{lang-en|Facebook}}; ชื่อเดิม thefacebook) เป็น[[บริการเครือข่ายสังคม]]ที่ยังเปิดให้บริการอยู่ สำนักงานใหญ่อยู่ที่ [[เมนโลพาร์ก]] [[รัฐแคลิฟอร์เนีย]] ซึ่งมันเป็นชื่อที่ใช้ในการสื่อสารหรือป้ายบอกทางแก่เหล่านักศึกษาในบางมหาวิทยาลัยอเมริกัน เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 โดย[[มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก]] และเพื่อนร่วมห้องภายในมหาวิทยาลัย และเหล่าเพื่อนในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พร้อมโดยสมาชิกเพื่อนผู้ก่อตั้ง Eduardo Saverin, Andrew McCollum, Dustin Moskovitz และ Chris Hughes ในท้ายที่สุดเว็บไซต์มีการเข้าชมอย่างจำกัด ทำให้เหล่านักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด แต่ภายหลังได้ขยายเพิ่มจำนวนในมหาวิทยาลัย ในพื้นที่[[บอสตัน]] [[ไอวีลีก]] และ[[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]] และค่อยๆรับรองมหาวิทยาลัยอื่นต่างๆ และต่อมาก็รับรองโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยเฟซบุ๊กให้การอนุญาตให้เยาวชนอายุต่ำกว่า 13 ปีทั่วโลกสามารถสมัครสมาชิกได้ภายในเว็บไซต์ โดยไม่ต้องอ้างอิงหลักฐานใด ๆ
 
จากการศึกษาของเว็บ คอมพีต.คอม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กถือเป็นบริการเครือข่ายสังคมที่มีคนใช้มากที่สุด เมื่อดูจากผู้ใช้ประจำรายเดือน รองลงมาคือ [[มายสเปซ]] ''[[เอ็นเตอร์เทนเมนต์วีกลี]]'' ให้อยู่ในรายชื่อ สิ่งที่ดีที่สุดในสิ้นทศวรรษ และควอนต์แคสต์ ประเมินว่า เฟซบุ๊ก มีผู้ใช้ต่อเดือนราว 135.1 ล้านคน นับเฉพาะในสหรัฐอเมริกา
 
ข้อมูล ณ วันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2554]] จากเฟซบุ๊กมีจำนวนสมาชิกทั้งหมด 584,628,480 สมาชิกทั่วโลก โดยเป็นสมาชิกจาก[[ประเทศไทย]] รวม 6,914,800 สมาชิก
 
== ประวัติ ==
[[มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก|มาร์ก ซักเ]]
[[มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก]] ได้เริ่มแดกหีเขียนเว็บไซต์ เฟซแมช ขึ้นมาก่อนที่จะเป็นเฟซบุ๊ก เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ขณะที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 ของ[[มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด]] โดยเป็นเว็บไซต์ที่เปรียบเสมือนเว็บ [[ฮอตออร์น็อต]] ของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด<ref>{{cite news|url=http://web.archive.org/web/20050403215543/www.thecrimson.com/article.aspx?ref=357292 |title=Hundreds Register for New Facebook Website |first=Alan J. |last=Tabak |date=February 9, 2004 |publisher=Harvard Crimson |accessdate=2008-11-07}}</ref> และจากข้อมูลของหนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ชื่อ ''[[The Harvard Crimson]]'' เฟซแมชใช้ภาพที่ได้จาก เฟซบุ๊ก หนังสือแจกสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มีรูปนักศึกษา จากบ้าน 9 หลัง โดยจะมีรูป 2 รูปให้คนเลือกว่า ใครร้อนแรงกว่ากัน<ref name="autogenerated2007">Locke, Laura. [http://www.time.com/time/business/article/0,8599,1644040,00.html "The Future of Facebook"], Time Magazine, July 17, 2007. Retrieved November 13, 2009.</ref>
 
[[ไฟล์:MarkZuckerberg.jpg|thumb|[[มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก]] ผู้ก่อตั้งเฟซบุ๊ก]]
 
เพื่อทำให้ได้สำเร็จ ซักเคอร์เบิร์กได้แฮกเข้าไปในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของฮาวาร์ดในพื้นที่ป้องกัน และได้คัดลอกภาพส่วนตัวประจำหอพัก ซึ่งในขณะนั้นฮาวาร์ดยังไม่มีสารบัญรูปภาพและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษา และเฟซแมชได้ทำให้มีผู้เข้าเยี่ยมชม 450 คน และดูรูปภาพ 22,000 ครั้งใน 4 ชั่วโมงแรกที่ออนไลน์<ref name="autogenerated2007"/> และเว็บไซต์นี้ได้จำลองสังคมกายภาพของคน ด้วยอัตลักษณ์จริง เป็นตัวแทนของกุญแจสำคัญด้านมุมมอง ที่ต่อมาได้กลายมาเป็น เฟซบุ๊ก<ref name="fastcompany.com">McGirt, Ellen. [http://www.fastcompany.com/magazine/115/open_features-hacker-dropout-ceo.html "Facebook's Mark Zuckerberg: Hacker. Dropout. CEO. "], Fast Company, May 1, 2007. Retrieved November 5, 2009.</ref>
 
เว็บไซต์ได้ก้าวไกลไปในหลายเซิร์ฟเวอร์ของกลุ่มในมหาวิทยาลัย แต่ก็ปิดตัวไปในอีกไม่กี่วันโดยคณะบริหารฮาวาร์ด ซักเคอร์เบิร์กถูกกล่าวโทษว่าทำผิดต่อระบบรักษาความปลอดภัย การละเมิดลิขสิทธิ์ และการละเมิดความเป็นส่วนตัว และยังถูกไล่ออก แต่ท้ายที่สุดแล้วข้อกล่าวหาก็ยกเลิกไป<ref name="facemash survives">{{cite web|accessdate=2009-02-05|url=http://www.thecrimson.com/article.aspx?ref=350143|title=Facemash Creator Survives Ad Board |publisher=[[The Harvard Crimson]]|date=2003-11-19|author=Kaplan, Katherine}}</ref> ต่อมาซักเคอร์เบิร์กได้ขยับขยายโครงการในเทอมนั้นเอง โดยได้คิดค้นเครื่องมือการศึกษาทางสังคมที่ก้าวหน้า ของการสอบวิชาประวัติศาสตร์ โดยการอัปโหลดรูปเกี่ยวกับ[[ประวัติศาสตร์โรม]] 500 รูป โดยมี 1 รูปกับอีก 1 ส่วนที่ให้แสดงความเห็น<ref name="fastcompany.com"/> เขาเปิดกับเพื่อนร่วมชั้นของเขา และคนเริ่มที่จะแบ่งปันข้อความกัน
 
ในเทอมต่อมาซักเคอร์เบิร์กเริ่มเขียนโค้ดในเว็บไซต์ใหม่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2004 เขาได้รับแรงกระตุ้นให้ทำ เขาพูดไว้ใน ''The Harvard Crimson'' เกี่ยวกับเรื่อง เฟซแมช<ref name="Hoffman, Claire">{{cite web|accessdate=2009-02-05|url=http://www.rollingstone.com/news/story/21129674/the_battle_for_facebook/|title=The Battle for Facebook|publisher=Rolling Stone|date=2008-06-28|author=Hoffman, Claire|archiveurl = http://web.archive.org/web/20080703220456/http://www.rollingstone.com/news/story/21129674/the_battle_for_facebook/ |archivedate = July 3, 2008|deadurl=yes}}</ref> และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ซักเกอร์เบิร์กได้เปิดตัวเว็บไซต์ "เดอะเฟซบุก" ในยูอาร์แอล thefacebook.com<ref name="skepticism">{{cite news|accessdate=2008-04-30|url=http://online.wsj.com/article/SB118539991204578084.html?mod=googlenews_wsj|title=Judge Expresses Skepticism About Facebook Lawsuit |work=[[The Wall Street Journal]]|date=2007-07-25|author=Seward, Zachary M. }}</ref>
 
6 วันหลังจากเปิดเว็บไซต์ รุ่นพี่ 3 คน คือ แคเมรอน วิงก์เลวอส, ไทเลอร์ วิงก์เลวอส และดิฟยา นาเรนดรา ได้ฟ้องร้องซักเกอร์เบิร์กที่หลอกลวงพวกเขาให้เชื่อว่า เขาได้ช่วยที่จะช่วยสร้างเครือข่ายสังคมที่ชื่อว่า HarvardConnection.com ขณะที่เขาใช้แนวคิดพวกเขาในการสร้างเว็บไซต์เพื่อแข่งขัน<ref name="zuckerberghacked">{{cite news | first=Nicolas | last=Carlson | coauthors= |authorlink= | title= In 2004, Mark Zuckerberg Broke Into A Facebook User's Private Email Account | date=2010-03-05 | publisher= | url =http://www.businessinsider.com/how-mark-zuckerberg-hacked-into-the-harvard-crimson-2010-3 | work =Business Insider | pages = | accessdate = 2010-03-05 | language = }}</ref> ทั้ง 3 คนได้บ่นในหนังสือพิมพ์ ''Harvard Crimson'' โดยทางหนังสือพิมพ์เริ่มทำการสอบสวน ต่อมาทั้ง 3 คนได้ยื่นฟ้องทางกฎหมายต่อซักเกอร์เบิร์กในภายหลัง<ref name=nytb>{{cite news|publisher=The New York Times|url=http://bits.blogs.nytimes.com/2008/06/26/judge-ends-facebooks-feud-with-connectu/index.html|date=2008-06-28| title=Judge Ends Facebook’s Feud With ConnectU|author=Brad Stone}}</ref>
 
แต่เดิม สมาชิกจะจำกัดเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด และภายในเดือนแรก มากกว่าครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ได้ลงทะเบียนใช้บริการ<ref>{{cite news|accessdate=2008-03-07|url=http://www.guardian.co.uk/technology/2007/jul/25/media.newmedia|title=A brief history of Facebook |work=[[The Guardian]]|date=2007-07-25|author=Phillips, Sarah | location=London}}</ref> เอ็ดวาร์โด ซาเวริน (ดูแลเรื่องธุรกิจ), ดิสติน มอสโควิตซ์ (โปรแกรเมอร์), แอนดรูว์ แม็กคอลลัม (กราฟิก) และคริส ฮิวส์ ที่ต่อมาได้ร่วมกับซักเกอร์เบิร์กเพื่อประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ และในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ขยับขยายสู่มหาวิทยาลัยอื่นอย่าง [[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด|สแตนฟอร์ด]], [[มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย|โคลัมเบีย]], และ[[มหาวิทยาลัยเยล|เยล]]<ref name="timeline">{{cite web|accessdate=2008-03-05|url=http://www.facebook.com/press/info.php?timeline|title=Press Room |publisher=Facebook|date=2007-01-01 }}</ref> และยังคงขยับขยายต่อสู่กลุ่ม[[ไอวีลีก]]ทั้งหมด และ[[มหาวิทยาลัยบอสตัน]], [[มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก]], [[เอ็มไอที]] และสู่มหาวิทยาลัยอื่นในแคนาดาและสหรัฐอเมริกาไปทีละน้อย<ref>{{cite web|accessdate=2008-06-13|url=http://www.forbes.com/2006/09/11/facebook-opens-up-cx_rr_0911facebook.html|title=Open Facebook |publisher=[[Forbes]]|date=2006-09-11|author=Rosmarin, Rachel }}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.tuftsdaily.com/2.5541/1.600318|title= Online network created by Harvard students flourishes|publisher= [[The Tufts Daily]]|date=|accessdate = 2009-08-21}}</ref>
 
เฟซบุ๊กได้เป็นบริษัทในฤดูร้อนปี ค.ศ. 2004 และได้นักธุรกิจ [[ฌอน พาร์กเกอร์]] ที่ได้เคยแนะนำซักเกอร์เบิร์กอย่างเป็นกันเอง ก็ได้ก้าวมาเป็นประธานของบริษัท.<ref name="NYT_260505">{{cite news | author = Rosen, Ellen | title = Student's Start-Up Draws Attention and $13 Million | url = http://www.nytimes.com/2005/05/26/business/26sbiz.html?_r=2&scp=1&sq=thefacebook+parker&st=nyt | publisher = The New York Times | date = 2005-05-26 | accessdate = 2009-05-18 }}</ref> ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ย้ายฐานปฏิบัติงานมาอยู่ที่ [[แพโลอัลโต]] [[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]<ref name="timeline" /> และได้รับเงินทุนในเดือนนั้นจากผู้ร่วมก่อตั้ง [[เพย์พาล]] ที่ชื่อ [[ปีเตอร์ ธีล]]<ref name="beware">{{cite news|accessdate=2008-04-30|url=http://www.theage.com.au/news/general/beware-facebook/2008/01/18/1200620184398.html?page=fullpage#contentSwap2|title=Why you should beware of Facebook |work=[[The Age]]|date=2008-01-20 | location=Melbourne}}</ref> บริษัทได้เปลี่ยนชื่อ โดยลดคำว่า เดอะ ออกไป และซื้อโดเมนเนมใหม่ในชื่อ เฟซบุ๊ก.คอม ในปี ค.ศ. 2005 ด้วยเงิน 2 แสนดอลลาร์สหรัฐ<ref>{{cite web|accessdate=2008-06-13|url=http://www.theregister.co.uk/2007/10/01/facebook_domain_dispute/| title=Facebook wins Manx battle for face-book.com |publisher=The Register|date=2007-10-01|author=Williams, Chris }}|</ref>
 
เฟซบุ๊กได้เปิดตัวในรูปแบบของโรงเรียนไฮสคูล ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2005 ที่ซักเกอร์เบิร์กเรียกว่า ก้าวต่อไปที่มีเหตุผล<ref>{{cite news|title=Facebook is the go-to Web site for students looking to hook up|work=[[Dayton Daily News]]|date=2006-08-03|author=Dempsey, Laura}}</ref> ณ เวลานั้นในเครือข่ายไฮสคูล ต้องการการรับเชิญเท่านั้นเพื่อร่วมเว็บไซต์<ref>{{cite web|accessdate=2008-06-13|url=http://www.forbes.com/security/2007/01/25/myspace-security-identity-tech-security-cx_ll_0124myspaceage.html|title=Why MySpace Doesn't Card |publisher=[[Forbes]]|date=2007-01-25|author=Lerer, Lisa |archiveurl=http://classic-web.archive.org/web/20080602081817/http://www.forbes.com/security/2007/01/25/myspace-security-identity-tech-security-cx_ll_0124myspaceage.html|archivedate=2008-06-02}}</ref> ต่อมาเฟซบุ๊กได้ขยับขยายให้กับลูกจ้างบริษัทที่คัดสรรอย่าง [[แอปเปิล]] และ [[ไมโครซอฟท์]]<ref>{{cite web|accessdate=2008-03-09|url=http://www.businessweek.com/technology/content/sep2006/tc20060912_682123.htm?chan=top+news_top+news+index_technology|title=Facebook: Opening the Doors Wider |work=BusinessWeek|date=2006-09-12|author=Lacy, Sarah }}</ref> เฟซบุ๊กได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 2006 ให้ทุกคนได้ใช้กัน โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปี และมีอีเมลที่แท้จริง<ref name="welcome">{{cite news | first=Carolyn | last=Abram | url=http://blog.facebook.com/blog.php?post=2210227130|accessdate=2008-03-08|publisher=Facebook | title=Welcome to Facebook, everyone | date=2006-09-26}}</ref><ref name="tos">{{cite web|accessdate=2008-03-05|url=http://www.facebook.com/terms.php|title=Terms of Use|publisher=Facebook|date=2007-11-15}}</ref>
 
ในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ไมโครซอฟท์ประกาศว่าได้ซื้อหุ้นของเฟซบุ๊กเป็นจำนวน 1.6% ด้วยเงิน 240 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทำให้เฟซบุกมีมูลค่าราว 15 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref name="MSPR1">{{cite web |url=http://www.microsoft.com/Presspass/press/2007/oct07/10-24FacebookPR.mspx |title=Facebook and Microsoft Expand Strategic Alliance |accessdate=2007-11-08 |publisher=[[Microsoft]] |date=2007-10-24 }}</ref> และทำให้ไมโครซอฟท์มีสิทธิ์ที่จะแขวนป้ายโฆษณาบนเฟซบุ๊กได้<ref name="BW-6Aug08">{{cite web|url=http://www.businessweek.com/magazine/content/08_33/b4096000952343.htm?chan=rss_topEmailedStories_ssi_5|title=Facebook Stock For Sale|accessdate=2008-08-06|publisher=BusinessWeek}}</ref> ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 เฟซบุกประกาศว่าจะตั้งสำนักงานใหญ่ระดับนานาชาติใน[[ดับลิน]] [[ประเทศไอร์แลนด์]]<ref>{{cite web|accessdate=2008-11-30|url=http://www.facebook.com/press/releases.php?p=59042|title=Press Releases|publisher=Facebook|date=2008-11-30}}</ref>
 
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กได้กล่าวว่า สถานะการเงินเริ่มเป็นตัวเลขบวกเป็นครั้งแรก
<ref>{{cite news|url=http://www.cbc.ca/technology/story/2009/09/16/tech-facebook-300-million-users.html |title=Facebook 'cash flow positive,' signs 300M users |publisher=Cbc.ca |date=2009-09-16 |accessdate=2010-03-23}}</ref> ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2010 จากข้อมูลของ เซคันด์มาร์เก็ต ระบุว่าเฟซบุกมีมูลค่า 41 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (แซงหน้า[[อีเบย์]]ไปเล็กน้อย) และถือเป็นบริษัทเว็บไซต์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับ 3 รองจาก[[กูเกิล]]และ[[แอมะซอน]]<ref>Facebook Becomes Third Biggest US Web Company http://www.thejakartaglobe.com/technology/facebook-becomes-third-biggest-us-web-company/406751</ref> สถิติผู้เข้าชมในเฟซบุ๊กหลังปี ค.ศ. 2009 ผู้ชมเฟซบุ๊กมากกว่ากูเกิลในปลายสัปดาห์ของสัปดาห์ 13 มีนาคม ค.ศ. 2010
<ref>{{cite web |url=http://weblogs.hitwise.com/heather-dougherty/2010/03/facebook_reaches_top_ranking_i.html |title=Facebook Reaches Top Ranking in US |author= |date= |work= |publisher= |accessdate=}}</ref>
 
== วิวัฒนาการของเฟซบุ๊กในแต่ละรุ่น ==
=== Facemash ===
โดย Facebook ในรุ่นแรกมีชื่อว่า Facemash ถือกำเนิดเมื่อ 2003 ตอนนั้น มาร์คยังคงเรียนอยู่ปี 2 ที่ Harvard แต่ในขณะเดียวกันเขาก็ถูกแฟนทิ้ง Mark ก็เลยเริ่มเมาเละเทะ
และก็เริ่มเขียน Blog เพื่อให้ลืมแฟนสาวคนนั้น ขณะเดียวกัน มาร์คก็เริ่มสร้าง Facemash บนหอพัก โดยมาร์คบอกว่ารูปที่ถ่ายรูปบางรูป น่าเกลียดมากจนเอาไปเปรียบเทียบกับพวกสัตว์ต่างๆ
 
Facemash กลายเป็นเว็ปที่นำรูปของนักศึกษาจากหอพักทั้งหมดเก้าหอพักมาเก็บไว้ มาร์คเริ่มเขียนโปรแกรม ให้สุ่มรูปขึ้นมาคู่กันสองรูปแล้วให้คนโหวตว่า ด้านซ้ายหรือขวาที่หน้าตาถูกใจของนักศึกษา
 
โดย Mark ได้ทำการ แฮ็ครูปนักศึกษาเข้าคอมพิวเตอร์ Harvard แล้วก็อปรูปมา Facemash ได้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็ว ในเวลาไม่กี่ชั่วโมง มีคนเข้ามา 450 คน และมีคนดูรูปไปทั้งหมด 22,000 รูป แต่ทว่าไม่กี่วันต่อมา Harvard ได้ทำการปิดเว้ป Facemash แล้วแจ้งจับมาร์คข้อหาละเมิดความเป็นสวนตัว และแฮ็คเข้าระบบคอมพิวเตอร์
 
=== Thefacebook ===
เทอมต่อมา ปี 2004 มาร์คเริ่มสร้างเว็บใหม่ขึ้นมา เรียกว่า ''Thefacebook'' เค้าได้รับแรงบันดาลใจจากบทความในหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับกรณีของ Facemash บทความนั้นกล่าวว่า "จริงๆ แล้วเว็บส่วนกลางลักษณะนี้น่าจะมีประโยชน์มากมาย มหาศาล"
 
''Thefacebook'' เริ่มใช้งานได้ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2004 มาร์คบอกว่า หลายๆ คนพูดถึงการมี facebook (จุดรวมรูปของนักศึกษาและอาจารย์) ของ Harvard โดยมาร์คพูดต่ออีกว่า มันเป็นอะไรที่ตลกมาก เพราะมหาวิทยาลัยต้องใช้เวลาเป็นปีๆ กว่าจะทำเจ้าตัวนี้ขึ้นมา และตัวเค้าทำได้ดีกว่า แล้วก็ทำได้ในอาทิตย์เดียว
 
ภายในเวลาแค่ 24 ชั่วโมง ''Thefacebook'' มีคนลงทะเบียน 1,500 คน และ ภายในหนึ่งเดือน ครึ่งหนึ่งของนักศึกษาปริญญาตรีทั้งหมดลงทะเบียนกับเค้าเดือนมีนาคมปีเดียวกัน มาร์คและกลุ่มเพื่อนๆ ก็ได้ขยาย Thefacebook ออกไปยังมหาวิทยาลัยชั้นนำอื่นๆ (Ivy League) จากนั้น ก็ขยายไปทั่วอเมริกาและทั่วโลก
 
ในปี 2005 คำว่า The ก็ถูกถอนออกจาก ชื่อ Thefacebook มาร์คและเพื่อนของเขาได้จดทะเบียนชื่อโดเมน facebook.com ในราคา $200,000 ... แล้วก็มี Facebook เฉกเช่นปัจจุบัน
 
== ข้อพิพาทและการวิจารณ์ ==
เฟซบุ๊กประสบกับข้อพิพาทหลายเรื่อง เฟซบุ๊กถูกปิดกั้นการเข้าถึงเป็นช่วง ๆ ในหลายประเทศ อย่างเช่นใน [[ประเทศจีน]],<ref name="chinablock"> {{cite web|url= http://www.ferghana.ru/news.php?id=15794&mode=snews|title= Uzbek authorities have blocked access to Facebook|accessdate= 21 October 2010}} {{cite web |title= China's Facebook Status: Blocked |url= http://blogs.abcnews.com/theworldnewser/2009/07/chinas-facebook-status-blocked.html |date= July 8, 2009 |work= |publisher= ABC News |accessdate=13 July 2009}}</ref> [[เวียดนาม]]<ref name="benstocking">{{cite news |url=http://www.sfgate.com/cgi-bin/article.cgi?f=/n/a/2009/11/17/international/i033256S37.DTL |title=Vietnam Internet users fear Facebook blackout |author=Ben Stocking |agency=Associated Press |date=2009-11-17 |accessdate=2009-11-17 | work=The San Francisco Chronicle}} {{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2553}}</ref> [[อิหร่าน]]<ref>{{cite web |last=Shahi |first=Afshin. |url=http://dailystaregypt.com/article.aspx?ArticleID=15313 |title=Iran's Digital War |publisher=Daily News Egypt |date=July 27, 2008 |accessdate=August 16, 2008}}</ref> [[อุซเบกิสถาน]]<ref> {{Ru icon}}</ref> [[ปากีสถาน]]<ref>{{cite news|last=Cooper |first=Charles |url=http://www.cbsnews.com/8301-501465_162-20005388-501465.html |title=Pakistan Bans Facebook Over Muhammad Caricature Row&nbsp;– Tech Talk |publisher=CBS News |date=2010-05-19 |accessdate=2010-06-26}}</ref> [[ซีเรีย]]<ref>{{cite news |url=http://www.economist.com/world/mideast-africa/displaystory.cfm?story_id=11792330 |title=Red lines that cannot be crossed |publisher=The Economist |date=July 24, 2008 |accessdate=August 17, 2008}}</ref> [[ลาว]]<ref>[http://www.economist.com/node/11792330]</ref> [[กัมพูชา]]<ref>[http://www.economist.com/node/11792330]</ref> [[พม่า]]<ref>[http://www.cbsnews.com/8301-501465_162-20005388-501465.html]</ref> [[บรูไน]]<ref>[http://www.cbsnews.com/8301-501465_162-20005388-501465.html]</ref> และ[[บังคลาเทศ]]<ref name="reviewz">{{cite web |author= Ben Escurado |url=http://techviewz.org/2010/11/saudi-arabia-blocks-facebook.html|title=Saudi Arabia blocks Facebook|publisher=TechViewz.Org|date=2010-11-14 |accessdate=2010-11-16}}</ref> ในเหตุผลที่แตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น เนื้อหาการต่อต้านอิสลามและการแบ่งแยกทางศาสนาในเฟซบุ๊ก และยังถูกห้ามใช้จากหลายประเทศ และยังถูกห้ามใช้ในสถานที่ทำงานหลายที่เพื่อป้องกันพนักงานเสียเวลาในการทำงาน<ref>{{cite news |last=Benzie |first=Robert |url=http://www.thestar.com/News/article/210014 |title=Facebook banned for Ontario staffers |publisher=TheStar.com |date=May 3, 2007 |accessdate=August 16, 2008 | location=Toronto}}</ref> และนโยบายความเป็นส่วนตัวก็เป็นประเด็น และความปลอดภัยของบัญชีผู้ใช้ก็มีการไกล่เกลี่ยกันหลายต่อหลายครั้ง เฟซบุ๊กได้ลงมือแก้ปัญหาคดีความที่เกี่ยวกับซอร์ซโคดและทรัพย์สินทางปัญญา<ref>{{cite news |url=http://bits.blogs.nytimes.com/2008/04/07/facebook-to-settle-thorny-lawsuit-over-its-origins/ |title=Facebook to Settle Thorny Lawsuit Over Its Origins |publisher=The New York Times (blog) |date=April 7, 2008 |accessdate=November 5, 2009 | first=Brad | last=Stone}}</ref>
 
== บริษัท ==
{{บทความหลัก|เฟซบุ๊ก (บริษัท)}}
[[ไฟล์:Most popular social networking sites by country.svg|thumb|300px|บริการเครือข่ายสังคมที่เป็นที่นิยมในแต่ละประเทศ{{legend|#3b5998|เฟซบุ๊ก}}{{legend|#5ea9dd|[[ทวิตเตอร์]]}}{{legend|#965220|[[VK (social networking)|VKontakte]]}}{{legend|#de2910|[[Qzone|QZone]]}}{{legend|#f2720c|[[Odnoklassniki]]}}{{legend|#229340|Facenama}}{{legend|#e0e0e0|no data}}]]
รายได้ส่วนมากของเฟซบุ๊กมาจากการโฆษณา โดย[[ไมโครซอฟท์]]เป็นผู้ร่วมหุ้นพิเศษในด้านการบริการแบนเนอร์โฆษณา<ref>{{cite web|title=Product Overview FAQ: Facebook Ads|url=http://www.facebook.com/press/faq.php#Facebook+Ads|publisher=Facebook|accessdate=2008-03-10}}{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2553}}</ref> และเฟซบุ๊กให้มีการโฆษณาเฉพาะที่อยู่ในรายการลูกค้าของไมโครซอฟท์ และจากข้อมูลของคอมสกอร์ บริษัทสำรวจการตลาดทางอินเทอร์เน็ต ระบุว่า เฟซบุ๊กได้รวบรวมข้อมูลเข้าเว็บไซต์มากกว่า [[กูเกิล]]และไมโครซอฟท์ แต่น้อยกว่า [[ยาฮู!]]<ref>{{cite news|author=Story, Louise|title=To Aim Ads, Web Is Keeping Closer Eye on You|url=http://www.nytimes.com/2008/03/10/technology/10privacy.html|work=The New York Times|date=2008-03-10|accessdate=2008-03-09}}</ref> ในปี ค.ศ. 2010 ทีมระบบความปลอดภัยได้เพิ่มประโยชน์จากการต่อต้านภัยคุกคามและก่อการร้ายจากผู้ใช้<ref name="revealed">{{cite web|title=Revealed: Which social networks pose the biggest risk?|url=http://www.sophos.com/blogs/gc/g/2010/02/01/revealed-social-networks-pose-biggest-risk/|publisher=[[Sophos]]|last=Cluley|first=Graham|date=February 1, 2010|accessdate=July 12, 2010}}</ref> เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 เฟซบุ๊กได้เปิดตัว [[เฟซบุ๊กบีคอน]] เป็นการพยายามในการโฆษณาให้เหล่าเพื่อน โดยใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เพื่อนซื้อ แต่เฟซบุ๊กบีคอนก็เกิดความล้มเหลว
 
โดยปกติแล้ว เฟซบุ๊กจะมี[[อัตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณา]] (clickthrough rate) ต่ำกว่าเว็บไซต์ใหญ่ ๆ อื่น ที่ในแบนเนอร์โฆษณา เฟซบุ๊กจะมีอัตราการคลิก 1 ต่อ 5 เทียบกับเว็บไซต์อื่น<ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://www.businessweek.com/technology/content/nov2007/tc20071128_366355_page_2.htm |title=Facebook May Revamp Beacon |work=BusinessWeek |date=2007-11-28 }}</ref> นั่นหมายถึงว่ามีเปอร์เซ็นต์ที่น้อยกว่า ที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กจะกดคลิกโฆษณา ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้กูเกิลคลิกโฆษณาแรกในการค้นหาเฉลี่ย 8% (80,000 คลิกในทุก 1 ล้านการค้นหา) <ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://www.accuracast.com/seo-weekly/adwords-clickthrough.php |title=Google AdWords Click Through Rates Per Position |publisher=AccuraCast |date=2009-10-09 }}</ref> แต่ผู้ใช้เฟซบุ๊กจะคลิกโฆษณาในอัตรา 0.04% (400 คลิกในทุก 1 ล้านหน้า) <ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://valleywag.gawker.com/242234/facebook-consistently-the-worst-performing-site |title=Facebook 'consistently the worst performing site' |publisher=Gawker |date=2007-03-07 |author=Denton, Nick }}</ref>
 
แซราห์ สมิท ผู้จัดการบริการงานขายออนไลน์ของเฟซบุ๊ก ยืนยันว่า การรณรงค์โฆษณาประสบความสำเร็จ สามารถมีอัตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณา (CTR) ต่ำอยู่ราว 0.05% ถึง 0.04% แต่อัตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณาสำหรับโฆษณามีแนวโน้มจะตกลงภายใน 2 อาทิตย์<ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://techpulse360.com/2009/08/12/facebook-says-its-click-through-rates-do-not-match-those-at-google/ |title=Facebook Says Click Through Rates Do Not Match Those At Google |publisher=TechPulse 360 |date=2009-08-12 }}</ref> เมื่อเปรียบเทียบ CTR กับ[[มายสเปซ]]แล้ว มียอดประมาณ 0.1% ซึ่งเป็น 2.5 เท่าของเฟซบุ๊ก และต่ำกว่านี้เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น คำอธิบายเรื่อง CTR สำหรับโฆษณาที่ต่ำในเฟซบุ๊กเนื่องจาก ข้อเท็จจริงที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กเป็นผู้รอบรู้ทางเทคโนโลยีและใช้ซอฟต์แวร์ป้องกันและซ้อนโฆษณา ผู้ใช้มักเป็นคนหนุ่มสาวกว่าและชอบที่จะหลีกเลี่ยงข้อความโฆษณา ที่ในมายสเปซแล้วผู้ใช้จะเข้าถึงเนื้อหามากกว่า ในขณะที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กจะใช้เวลาในการสื่อสารกับเพื่อน เป็นเหตุให้พวกเขาไปสนใจโฆษณา<ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://www.bizreport.com/2007/07/advertisers_disappointed_with_facebooks_ctr.html |title=Advertisers disappointed with Facebook's CTR |publisher=BizReport |date=2007-07-16 |author=Leggatt, Helen }}</ref>
 
ในหน้าของตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ ในบางบริษัทมีรายงานว่า มี CTR สูงถึง 6.49% ในหน้าวอล<ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://adage.com/digitalnext/post?article_id=138442 |title=Facebook's Click-Through Rates Flourish ... for Wall Posts |work=AdAge |date=2009-08-13 |author=Klaassen, Abbey }}</ref> อินโวลเวอร์ ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มการตลาดสังคม ประกาศว่า ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2009 ว่าสามารถบรรลุเป้า CTR ที่ 0.7% ในเฟซบุ๊ก (เป็น 10 เท่าของ CTR การโฆษณาในเฟซบุ๊ก) กับลูกค้าคือ [[เซเรนาซอฟต์แวร์]] ถือเป็นลูกค้ารายแรกของอินโวเวอร์ ที่สามารถมีผู้ชม 1.1 ล้านครั้งจากผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ 8,000 คน<ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://www.prweb.com/releases/2008/07/prweb1162804.htm |title=Involver Delivers Over 10x the Typical Click-Through Rate for Facebook Ad Campaigns |publisher=Press release |date=2008-07-31 }}</ref> จากการศึกษาพบว่า วิดีโอโฆษณาในเฟซบุ๊กนั้น ผู้ใช้ 40% ดูวิดีโอทั้งหมดของวิดีโอ ขณะที่ค่าเฉลี่ยมาตรฐานอยู่ที่ 25% ของโฆษณาแบบ[[แบนเนอร์]]ในวิดีโอ<ref>{{cite web |accessdate=2010-07-18 |url=http://www.mediapost.com/publications/?fa=Articles.showArticle&art_aid=130217 |title=Study: Video Ads On Facebook More Engaging Than Outside Sites |work=MediaPost |date=2010-06-15 |author=Walsh, Mark }}</ref>
 
เฟซบุ๊กมีลูกจ้างมากกว่า 1,700 คน และมีสำนักงานใน 12 ประเทศ<ref>{{cite web|title=Facebook Factsheet|url=http://www.facebook.com/press/info.php?factsheet|accessdate=November 21, 2010}}</ref> โดย[[มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก]]ถือหุ้นของบริษัท 24% แอ็กเซล พาร์ตเนอร์ถือหุ้น 10% ดิจิตอลสกายเทคโนโลยีส์ถือหุ้น 10%<ref>{{cite news|title=Facebook's friend in Russia|url=http://tech.fortune.cnn.com/2010/10/04/facebooks-friend-in-russia/?source=cnn_bin&hpt=Sbin|accessdate=December 18, 2010 | work=CNN|date=2010-10-04}}</ref> ดัสติน มอสโควิตซ์ถือหุ้น 6% เอ็ดวาร์โด ซาเวรินถือหุ้น 5% ฌอน พาร์กเกอร์ถือหุ้น 4% ปีเตอร์ ธีลถือหุ้น 3% เกรย์ล็อกพาร์ตเนอร์สและเมริเทคแคพิทอลพาร์ตเนอร์ส ถือหุ้นระหว่าง 1 ถึง 2% แต่ละบริษัท ไมโครซอฟท์ถือหุ้น 1.3% ลิ คา-ชิงถือหุ้น 0.75% อินเตอร์พับลิกกรุปถือหุ้นน้อยกว่า 0.5% นอกจากนั้นยังมีลูกจ้างปัจจุบันและอดีตลูกจ้างรวมถึงผู้มีชื่อเสียงอื่นถือหุ้นอีกน้อยกว่า 1% เช่น แมต โคห์เลอร์, เจฟฟ์ รอทส์ไชลด์, วุฒิสมาชิกรัฐแคลิฟอร์เนีย บาร์บารา บอกเซอร์, คริส ฮิวส์ และโอเวน แวน แนตตา ขณะที่รีด ฮอฟแมนและมาร์ก พินคัสเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท และที่เหลืออีก 30% ถือหุ้นโดยลูกจ้าง ผู้มีชื่อเสียงไม่เปิดเผยชื่ออีกจำนวนหนึ่ง รวมถึงนักลงทุนอื่น<ref>{{cite book |title=The Facebook Effect |author=David Kirkpatrick |page=322 |isbn=1439102112 }}</ref> แอดัม ดี'แองเจโล ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีและเพื่อนของซักเคอร์เบิร์กได้ลาออกไปในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 มีรายงานอ้างว่าเขาและซักเคอร์เบิร์กเริ่มไม่ลงรอยกัน และเป็นเหตุให้เขาไม่มีความสนใจในการเป็นหุ้นส่วนของบริษัท<ref>{{cite web|title=As Facebook goes corporate, Mark Zuckerberg loses an early player|url=http://news.cnet.com/8301-13577_3-9941488-36.html|publisher=[[CNET.com]]|date=May 11, 2008|last=McCarthy|first=Caroline|accessdate=July 12, 2010}}</ref>
 
== การตอบรับ ==
ข้อมูลเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 ประเทศที่มีผู้ใช้เฟซบุ๊กมากที่สุด คือ<ref>{{cite web |url=http://www.socialbakers.com/facebook-statistics/ |title=Facebook Statistics by country |date=March 3, 2012}}</ref>
# [[สหรัฐอเมริกา]] 168.7 ล้านคน
# [[ประเทศเม็กซิโก]] 40.2 ล้านคน
# [[ประเทศบราซิล]] 64.6 ล้านคน
# [[ประเทศอินเดีย]] 62.6 ล้านคน
# [[ประเทศอินโดนีเซีย]] 51.4 ล้านคน
หกประเทศข้างต้นมีสมาชิกทั้งสิ้น 309 ล้านคน หรือราวร้อยละ 38.6 ของสมาชิก 1 พันล้านคนทั่วโลกของเฟซบุ๊ก<ref>{{cite web |url=http://english.kompas.com/read/2012/02/02/08412923/43.1.Million.Members.of.Facebook.in.Indonesia |title=43.1 Million Members of Facebook in Indonesia |date=February 2, 2012}}</ref>
 
== หมายเหตุ ==
{{รายการอ้างอิง|group=N}}
 
== อ้างอิง ==
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|2}}
</div>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Facebook}}
* [http://www.facebook.com/ เว็บไซต์เฟซบุ๊ก]
* [http://www.socialbakers.com/ สถิติสำคัญเกี่ยวกับเฟซบุ๊ก]
* [http://www.socialbakers.com/statistics/facebook/pages/total/ เฟซบุ๊กโดยรวมโดยยอดการถูกใจ]
* [http://fanpagelist.com/category/top_users/ เฟซบุ๊กโดยรวมโดยยอดการถูกใจ 2]
* [http://www.socialbakers.com/statistics/facebook/pages/total/thailand/ เฟซบุ๊กในไทยโดยยอดการถูกใจ]
 
{{นำทางเฟซบุ๊ก}}
{{บริษัททางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ}}
 
[[หมวดหมู่:เฟซบุ๊ก| ]]