ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชั้นโอโซน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
แก้รูปแบบพัง
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
เขียนย่อหน้าแรกใหม่ แปลจากอังกฤษ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[File:Ozone cycle.svg|thumb|350px|[[วัฏจักรโอโซน-ออกซิเจน]] (Ozone-oxygen cycle) ในชั้นโอโซน]]
'''ชั้นโอโซน''' ({{lang-en|zone layer}}) เป็นส่วนหนึ่ง[[ชั้นบรรยากาศของโลก]]ที่ประกอบด้วย[[โอโซน]]ในปริมาณมาก ชั้นโอโซนช่วยดูดซับ[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]จาก[[ดวงอาทิตย์]]ประมาณ 97-99% ของรังสีทั้งหมดที่แผ่มายังโลก
'''ชั้นโอโซน''' ({{lang-en|ozone layer, ozone shield}}) เป็นส่วนหนึ่งของ[[ชั้นบรรยากาศของโลก|ชั้นบรรยากาศโลก]]ที่ดูดซับ[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]จาก[[ดวงอาทิตย์]]มากที่สุด โดยประกอบด้วย[[โอโซน]] (O<sub>3</sub>) ในปริมาณมากกว่าชั้นบรรยากาศอื่น แม้จะยังถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับแก๊สชนิดอื่นในชั้นสตราโตสเฟียร์ (stratosphere) ชั้นโอโซนมีโอโซน 10 ส่วนในล้านส่วน ขณะที่ปริมาณเฉลี่ยของโอโซนในชั้นบรรยากาศโลกโดยรวมอยู่ที่ประมาณ 0.3 ส่วนในล้านส่วน ชั้นโอโซนพบได้
ชั้นโอโซนดูดซับ 97 ถึง 99 เปอร์เซ็นต์ของรังสียูวีความถี่กลางของดวงอาทิตย์ (ความยาวคลื่นตั้งแต่ประมาณ 200 นาโนเมตร จนถึง 315 นาโนเมตร) ที่อาจสร้างความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนผิวโลก<ref name="NASA">{{cite web|url=http://www.nas.nasa.gov/About/Education/Ozone/ozonelayer.html |title=Ozone layer|accessdate=2007-09-23}}</ref>
 
ชั้นโอโซนในช่วงล่างของชั้นสตราโตสเฟียร์ โดยอยู่อยู่ห่างจากผิวโลก ประมาณ 20 ถึง 30 กิโลเมตร และความหนาของชั้นบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูและภูมิศาสตร์<ref>{{cite web|url=http://www.ozonelayer.noaa.gov/science/basics.htm}}</ref>
โอโซนคือรูปแบบพิเศษของออกซิเจน ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในชั้นของบรรยากาศชั้นบน ๆ ชั้นโอโซนนี้มีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อโลก
 
ชั้นโอโซนอยู่ห่างจากผิวโลก ประมาณ 20 ไมล์ โดยอยู่ในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นโอโซนจะช่วยป้องกันไม่ให้รังสีอุลตราไวโอเล็ตอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ส่องมาถึงโลกของเรา ดวงอาทิตย์ทำให้ชีวิตบนโลกดำรงอยู่ได้ ความอบอุ่นและพลังงานของดวงอาทิตย์ ส่งผลต่อดิน น้ำ อากาศ และสิ่งมีชีวิตทุกอย่าง แต่ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดรังสีที่เป็นอันตรายต่อชีวิตด้วย ชั้นโอโซนมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะทำหน้าที่เป็นเกราะคุ้มกัน ปกป้องพืชและสัตว์จากรังสีที่เป็นอันตรายของดวงอาทิตย์ ดังนั้นเมื่อใดที่โอโซนบางลงเราก็ได้รับการปกป้องน้อยลงด้วย เราเรียกรังสีที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ว่า อุลตราไวโอเล็ตอัลตราไวโอเลต อุลตราไวโอเล็ตอัลตราไวโอเลตเป็นรังสีที่ไม่สามารถมองเห็นได้ หากมีปริมาณน้อยรังสีอุลตราไวโอเล็ตอัลตราไวโอเลตจะปลอดภัยและมีประโยชน์ โดยช่วยให้ร่างกายของเราได้รับวิตามินอี แต่รังสีอุลตราไวโอเล็ตอัลตราไวโอเลตที่มากเกินไป เป็นสาเหตุที่ทำให้ผิวหนังของเราอักเสบเนื่องจากแพ้แดด
 
ปริมาณของรังสีอุลตราไวโอเล็ตจำนวนมากอัลตราไวโอเลตจำนวนมาก อาจทำให้ผิวหนังเกิดอาการอักเสบรุนแรง เกิดโรคผิวหนังและปัญหาเกี่ยวกับดวงตา รังสีอุลตราไวโอเล็ตยังอัลตราไวโอเลตยัง ลดความสามารถของร่างกายมนุษย์ ในการต่อสู้กับโรคต่าง ๆ นอกจากนี้รังสีอุลตราไวโอเล็ตปริมาณมากอัลตราไวโอเลตปริมาณมาก ยังทำลายพืชในไร่และต้นพืชเล็ก ๆ ในทะเลซึ่งเป็นอาหารของปลา หากต้องไปอยู่ท่ามกลางแสงแดด ควรทาครีมป้องกันผิว ครีมทาผิวเหล่านี้จะมีตัวเลขบอกปริมาณการปกป้องผิวจากรังสีอุลตราไวโอเล็ตได้อัลตราไวโอเลตได้
==ความสำคัญของชั้นโอโซน==
บรรยากาศ (atmosphere) คือ ชั้นของอากาศที่หุ้มห่อโลกอยู่ อากาศประกอบด้วยก๊าซหลายชนิดที่มองไม่เห็นรวมกันอยู่ ก๊าซไนโตรเจน 78% ออกซิเจน 21% อีก 1% ประกอบด้วยก๊าซอาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์ และอื่นๆ อีกเล็กน้อย บรรยากาศมีความสำคัญต่อชีวิตหากปราศจากออกซิเจนแล้ว สิ่งมีชีวิตจะไม่สามารถหายใจได้ ถ้าไม่มีคาร์บอนไดออกไซด์ ต้นไม้ก็ไม่สามารถเจริญเติบโต บรรยากาศให้สิ่งที่จำเป็นต่อชีวิตและปกป้องเราได้ เป็นทั้งเกราะและผ้าห่มช่วยไม่ให้โลกร้อนจัดในตอนกลางวันและไม่ให้สูญเสียความอบอุ่นในตอนกลางคืน
บรรยากาศสูงขึ้นไปเหนือแผ่นดิน 310 ไมล์ 500 กิโลเมตร ประกอบด้วย ชั้นบรรยากาศ 5 ชั้น ชั้นล่างสุด คือ โทรโพสเฟียร์ troposphere เหนือขึ้นไป คือ ชั้นสเตรโตสเฟียร์ stratosphere ตอนบนของชั้นนี้มีโอโซนหนาแน่น อุณหภูมิสูงเพราะโอโซนดูดเอาคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลตไว้มาก และหุ้มชั้นบรรยากาศนี้ไว้เหมือนผิวหนังบางๆ รอบๆ ชั้นต่อไป คือ เมโซสเฟียร์ mesosphere ชั้นต่อไป คือ เทอร์โมสเฟียร์ thermosphere ชั้นต่อไป คือ ชั้นเอกโซสเฟียร์ exosphere<ref>http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter2/chapter2_airpolution8.htm</ref>
 
เส้น 14 ⟶ 16:
ในวันที่ 16 กันยายน ของทุกปีนับตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา ได้ถูกกำหนดให้เป็น วันโอโซนโลก (World Ozone Day) เพื่อให้ตระหนักถึงประโยชน์ของชั้นโอโซนและชั้นบรรยากาศต่างๆ ของโลก และช่วยอนุรักษ์ของชั้นโอโซน<ref>http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1272:libraly&catid=115:event&Itemid=145</ref>
==การลดลงของโอโซนในชั้นบรรยากาศ==
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่นๆเกิดขึ้นตามธรรมขาติในบรรยากาศรอบตัวเรา ช่วยในโลกอบอุ่นพอดีๆ ให้สิ่งมีชีวิตรอด ก๊าซปล่อยผ่านแสงอาทิตย์ลงมาให้ความอบอุ่นต่อโลก ป้องกันไม่ให้ความร้อนหลุดรอดกลับไปในอวกาศก๊าซนี้เรียกว่า ก๊าซเรือนกระจก (green house gases) <ref>Planeta vivo - el tiempo miquel angel gilbert แปล ลมฟ้าอากาศ our living planet - weather ปิยตา วนนันทน์ </ref>
 
สารเคมีชื่อ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอนส์ chlorofluorocarbons (CFCs) ที่ใช้ในเครื่องทำความเย็นเช่นตู้เย็นและสเปรย์ต่างๆ จะทำปฏิกิริยากับโมเลกุลโอโซน ทำให้โมเลกุลลดลงกลายเป็นโมเลกุลของออกซิเจน ซึ่งมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เพราะถ้าปราศจากโอโซนแล้ว รังสีอัลตราไวโอเลตจะสาดส่องพื้นโลกมากเกินไป ชั้นโอโซนซึ่งเป็นเหมือนเกราะกรองแสงที่คอยปกป้องโลกไม่ให้ร้อนจนเกินไปกันรังสี Ultraviolet ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งผิวหนังและแสบตา การ CFCs ที่ใช้กันทั่วโลกทำให้ชั้นโอโซนมีรูโหว่เหนือขั้วโลกทั้งสองข้าง <ref>http://www.theozonehole.com/cfc.htm</ref>
 
สารเคมีชื่อ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอนส์ chlorofluorocarbons (CFCs) ที่ใช้ในเครื่องทำความเย็นเช่นตู้เย็นและสเปรย์ต่างๆ จะทำปฏิกิริยากับโมเลกุลโอโซน ทำให้โมเลกุลลดลงกลายเป็นโมเลกุลของออกซิเจน ซึ่งมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เพราะถ้าปราศจากโอโซนแล้ว รังสีอัลตราไวโอเลตจะสาดส่องพื้นโลกมากเกินไป ชั้นโอโซนซึ่งเป็นเหมือนเกราะกรองแสงที่คอยปกป้องโลกไม่ให้ร้อนจนเกินไปกันรังสี Ultraviolet ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งผิวหนังและแสบตา การ CFCs ที่ใช้กันทั่วโลกทำให้ชั้นโอโซนมีรูโหว่เหนือขั้วโลกทั้งสองข้าง <ref>http://www.theozonehole.com/cfc.htm</ref>
===วิธีที่ช่วยลดการทำลายชั้นโอโซน===
*ลดการปล่อยมลพิษทางอากาศ เช่น การจำกัดจำนวนยานพาหนะ ซึ่งยานพาหนะที่เป็นอีกหนึ่งสาเหตุในการปล่อย