ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ล้ง 1919"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paul 012 (คุย | ส่วนร่วม)
Paul 012 ย้ายหน้า ล้ง 1919 ไปยัง บ้านหวั่งหลี ทับหน้าเปลี่ยนทาง
 
Paul 012 (คุย | ส่วนร่วม)
แยกออกมาจากบทความ บ้านหวั่งหลี
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
'''ล้ง 1919''' ([[อักษรจีน]]: 廊 1919; {{lang-en|Lhong 1919}}) เป็นแหล่งท่องเที่ยว ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ด้าน[[ฝั่งธนบุรี]] ดำเนินกิจการโดย ตระกูลหวั่งหลี ตั้งอยู่ติดกับ[[บ้านหวั่งหลี]] มีเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ และพื้นที่อาคาร
#เปลี่ยนทาง [[บ้านหวั่งหลี]]
6,800 ตารางเมตร โดยอยู่ฝั่งตรงข้ามกับ[[ย่านตลาดน้อย]] เขตสัมพันธวงศ์ ใน[[ฝั่งพระนคร]]<ref name=ล้ง>{{cite web|url=https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%87+1919+%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99+%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99+%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84+%E0%B8%A3+%E0%B9%94+%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2+167+%E0%B8%9B%E0%B8%B5+%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5+%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-RQmmpe|title=ล้ง 1919 โบราณสถาน สถาปัตยกรรมจีน ยุค ร.๔ อายุกว่า 167 ปี มรดกหวั่งหลี มรดกแผ่นดิน|accessdate=2018-01-28|date=2017-11-03|author=Decor}}</ref>
 
==ประวัติ==
เดิมเป็นท่าเรือของ พระยาพิศาลศุภผล (ชื่น) ต้นตระกูลพิศาลบุตร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2393 โดยมีชื่อว่า "ฮวงจุ้งล้ง" (火船廊; คำแปล ''ท่าเรือกลไฟ''<ref>
กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์. "กรุงธนบุรี ในสมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์." วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555, หน้า 93</ref>) เป็นท่าเรือกลไฟและโกดังสินค้า สำหรับรองรับเรือสินค้าจากหัวเมืองประเทศต่าง ๆ เช่น [[มลายู]], [[สิงคโปร์]], [[จีนแผ่นดินใหญ่]], [[ฮ่องกง]] ต่อมาขายให้แก่นายตันลิบบ๊วย แห่งตระกูลหวั่งหลี ในปี พ.ศ. 2462 จนกระทั่งภายหลังบริษัทหวั่งหลี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทของครอบครัวเข้ามาเป็นผู้บริหารดูแล
 
ต่อมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ตระกูลหวั่งหลี ได้มีโครงการที่จะเปลี่ยนที่นี่ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและแลนด์มาร์คของริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จึงเริ่มเข้ามาพัฒนาพื้นที่และเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 โดยเป็น[[ร้านอาหาร]], [[ร้านกาแฟ]], จุดถ่ายรูป, ร้านจำหน่ายสินค้าศิลปะและหัตถกรรม, พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ความสัมพันธ์ไทย-จีน และสถานที่พักผ่อน<ref name=ล้ง/>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[https://www.facebook.com/lhong1919/ เฟซบุกอย่างเป็นทางการ]
[[หมวดหมู่:เขตคลองสาน|คลองสาน]]
[[category:ศูนย์การค้าในกรุงเทพมหานคร]]
{{สร้างปี|2559}}{{สร้างปี|2393}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ล้ง_1919"