ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิวเซียมสยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| ก่อตั้ง = [[2 เมษายน]] [[พ.ศ. 2551]]
| ประเภทสิ่งสะสม = แสดงภาพ วัตถุ และสิ่งก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับประวัติ[[ชนชาติไทย]] และ[[กรุงเทพมหานคร]]
| สิ่งที่น่าสนใจ =นิทรรศการ ชุด ถอดรหัสไทย
| ผู้อำนวยการ =
| ผู้ดูแล = [[สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ]]
| จำนวนผู้เข้าชม =
| ที่ตั้ง = 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{flag|ไทย}}
| การคมนาคม =
| พิกัดภูมิศาสตร์ = {{coord|13.74414|744140, 100.4942}}494200
| เว็บไซต์ = [http://www.ndmimuseumsiam.or.th/museums/museums_of_siam/index.html มิวเซียมสยาม]org
| หมายเหตุ =
}}
บรรทัด 21:
 
มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้นี้ ถือเป็นแหล่งการเรียนรู้หนึ่งที่เน้นจุดมุ่งหมายในการแสดงตัวตนของชนในชาติ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้าชม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เข้าชมที่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้รากเหง้าของชาวไทย โดยเน้นไปที่กลุ่มชนในเขตเมืองบางกอก หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นสำคัญ เนื่องจากตัวมิวเซียมสยามแห่งนี้ได้ตั้งอยู่ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] แต่มิได้หมายความว่าถ้าเป็นคนไทยต่างจังหวัด จะไม่สามารถมาเรียนรู้จากพิพิธภัณฑ์นี้ได้ ด้วยเพราะสิ่งที่จัดแสดงในมิวเซียมสยามนี้ แสดงถึงความเป็นมาของ[[ชนชาติไทย]] ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ผ่านการนำเสนอด้วยสื่อผสมหลายรูปแบบ ทำให้มีความน่าสนใจ และดึงดูดใจผู้เข้าชมได้เป็นอย่างยิ่ง ทั้งยังตั้งอยู่ในสถานที่สวยงาม
 
ปัจจุบัน ได้ทำการปรับปรุงนิทรรศการชุด เรียงความปะรเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ต่อมาได้มีการจัดทำนิทรรศการชุดใหม่โดยมีจุดประสงค์ให้มีเนื้อหาเท่าทันสมัย และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เข้าชม มีชื่อชุดว่า นิทรรศการ "ถอดรหัสไทย" นำเสนอภายใน 14 ห้องนิทรรศการ ที่จะพาไปเรียนรู้ทุกมุมมองความเป็นไทย และพัฒนาการความเป็นไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิ เรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมประเพณี อาหารการกิน การแต่งกาย
 
สำหรับ นิทรรศการ "เรียงความประเทศไทย" ได้ทำการจัดแสดงกับ Muse Mobile มิวเซียมติดล้อ เป็นการจัดนิทรรศการในตู้คอนเทนเนอร์เคลื่อนที่ไปจัดแสดง ในสถานที่ต่างๆ โดยเล่าถึงประวัติศาสตร์ของประเทศและคนไทย ผ่านรูปแบบนิทรรศการที่ทันสมัยในตู้คอนเทนเนอร์ขนาดใหญ่
 
== พื้นที่จัดแสดง ==
อาคาร[[กระทรวงพาณิชย์]]เดิมภายในมิวเซียมสยามเป็นอาคาร 3 ชั้น มีห้องจัดแสดงนิทรรศการถาวรทั้งหมด 17 ห้อง ภายใต้หัวข้อ "เรียงความประเทศไทย ซึ่งได้จัดแสดงมาแล้วเป็นเวลา 8 ปี และได้ทำการปรับปรุงนิทรรศการชุดใหม่ เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 มีชื่อชุดว่า นิทรรศการ "ถอดรหัสไทย" นำเสนอภายใน 14 ห้องนิทรรศการ
 
ปัจจุบัน นิทรรศการ "เรียงความประเทศไทย" ได้ทำการจัดแสดงกับ Muse Mobile มิวเซียมติดล้อ เป็นการจัดนิทรรศการในตู้คอนเทนเนอร์เคลื่อนที่ไปจัดแสดง ในสถานที่ต่างๆ โดยเล่าถึงประวัติศาสตร์ของประเทศและคนไทย ผ่านรูปแบบนิทรรศการที่ทันสมัยในตู้คอนเทนเนอร์ขนาดใหญ่
 
== นิทรรศการ "เรียงความประเทศไทย" ==
[[ไฟล์:Phra Borom Maha Ratchawang, Phra Nakhon, Bangkok, Thailand - panoramio (43).jpg|thumb|สถาปัตยกรรมภายนอกอาคารพิพิธภัณฑ์]]นิทรรศการ “เรียงความประเทศไทย” เป็นการบอกเล่าถึงพัฒนาการด้านต่างๆ ของภูมิภาคอุษาคเนย์ นับตั้งแต่สมัยแผ่นดิน “สุวรรณภูมิ” (3,000 ปีก่อน) อันประกอบด้วยอารยธรรมต่างๆ ก่อนการรับวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน เรื่อยมาจนถึงกำเนิดสยามประเทศและก้าวสู่ประเทศไทยในปัจจุบัน โดยแบ่งการนำเสนอออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
 
'''ช่วงที่ 1 “สุวรรณภูมิ”'''
 
นำเสนอเรื่องราวของดินแดนสุวรรณภูมิและประเทศไทยในปัจจุบัน ย้อนกลับไปราว 3,000 ปีก่อนการรับพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูเข้ามา จนกระทั่งกลายเป็นศาสนาหลักจนถึงปัจจุบัน
 
'''ช่วงที่ 2 “สยามประเทศไทย”'''
 
นำเสนอเรื่องราวการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ซึ่งถือเป็นอาณาจักรใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันเกือบทั้งหมด อีกทั้งยังเป็นจุดเปลี่ยนผ่านสำคัญในการกำเนิดขึ้นของ “สยามประเทศไทย”
 
'''ช่วงที่ 3 “ประเทศไทย”'''
 
นำเสนอพัฒนาการของดินแดน ผู้คน และสังคมจากแบบจารีตมาสู่สังคมสมัยใหม่ในปัจจุบัน
 
ทั้ง 3 ช่วงดังกล่าว นำเสนอโดยอธิบายลึกลงไปถึงรายละเอียด ผ่านห้องนิทรรศการจำนวน 17 ห้อง ซึ่งแต่ละห้องมีรายละเอียดสังเขปดังต่อไปนี้[[ไฟล์:Ministry of Commerce Bangkok Thailand.jpg|thumb|ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์]]
== การจัดแสดง ==
[[ไฟล์:Phra Borom Maha Ratchawang, Phra Nakhon, Bangkok, Thailand - panoramio (43).jpg|thumb|สถาปัตยกรรมภายนอกอาคารพิพิธภัณฑ์]]
[[ไฟล์:Ministry of Commerce Bangkok Thailand.jpg|thumb|ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์]]
[[ภาพ:Museum Siam - 2017-01-19 - 001.jpg|thumb|ทางเข้า]]
การจัดพื้นที่ภายในแบ่งเป็นเนื้อหาย่อย 17 ธีม ในรูปแบบ "เรียงความประเทศไทย" ให้ผู้เข้าชมได้เรียนรู้ผ่านสื่อต่าง ได้แก่
# เบิกโรง (Immersive Theater)
# ไทยแท้ (Typically Thai)
เส้น 73 ⟶ 90:
* '''มองไปข้างหน้า''' ห้องสำหรับแสดงความคิดเห็นของผู้เข้าชม ด้วยระบบคอมพิวเตอร์แสดงข้อความบนผนัง<ref>พชรกร อนุศิริ, 'มิวเซียมสยาม' เล่าอดีตสยาม ค้นตำนานสุวรรณภูมิ, มติชน, 19 เมษายน พศ. 2551 ([http://www.artgazine.com/shoutouts/viewtopic.php?t=2921 สำเนา]) {{ลิงก์เสีย}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}