ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คืนมีดยาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
{{นาซี}}
'''คืนมีดยาว'''({{lang-de|Nacht der langen Messer}} ''นัชแดร์ลังเงินเมสเซอร์'') ยังได้เป็นที่รู้จักกันคือ '''ปฏิบัติการฮัมมิงเบิร์ด''' (เยอรมัน: Unternehmen Kolibri)หรือในเยอรมันเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''กบฏเริม''' (Röhm Putsch) (สะกดคำภาษาเยอรมัน: Röhm-Putsch),เป็นการกวาดล้างเมื่อเกิดขึ้นใน[[นาซีเยอรมนี]] ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน ถึง 2 กรกฏาคม ค.ศ. 1934 เมื่อ[[พรรคนาซี|พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน]]หรือพรรคนาซีได้ดำเนินการของหนึ่งในกระทำการวิสามัญฆาตกรรมทางการเมืองด้วยวัตถุประสงค์ในการรวบรวมอำนาจเอาไว้อย่างเบ็ดเสร็จในเยอรมนีของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] จำนวนมากมายที่ถูกฆ่านั้นล้วนเป็นผู้นำระดับสูงของหน่วย[[ชตูร์มับไทลุง]](เอ็สเอ) องค์กรกำลังกึ่งทหารของนาซี ที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า "พวกชุดกากี" เนื่องจากสีของชุดเครื่องแบบของพวกเขา เหยื่อที่ได้เป็นที่รู้จักกันดีของการกวาดล้างคือ [[แอนสท์ เริม]] ผู้นำของหน่วยเอ็สเอและเป็นหนึ่งในผู้สนับสนุนและพันธมิตรของฮิตเลอร์ สมาชิกชั้นนำของฝ่ายซ้าย ฝ่าย[[ลัทธิสตรัสเซอร์]]ของพรรคนาซี พร้อมกับผู้นำในนาม, [[เกรกอร์ สตรัสเซอร์]] ได้ถูกสังหาร เช่นเดียวกับฝ่ายอนุรักษ์นิยมและฝ่ายต่อต้านนาซี เช่น อดีตนายกรัฐมนตรี [[คูร์ท ฟอน ชไลเชอร์]] และนักการเมืองบาวาเรีย [[กุสทัฟ ริทเทอร์ ฟอน คาร์]] ที่ได้ยับยั้งฮิตเลอร์ในช่วง[[กบฏโรงเบียร์]]ที่[[มิวนิก]] ในปี ค.ศ. 1923 การสังหารผู้นำเอ็สเอยังได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงภาพลักษณ์ของรัฐบาลฮิตเลอร์ให้กับสาธารณชนเยอรมันที่วิกฤตอันตรายเพิ่มมากขึ้นของกลยุทธ์อันธพาลพวกชุดกากี
 
ฮิตเลอร์ได้หันต่อต้านกับหน่วยเอ็สเอและผู้นำ แอนสท์ เริม เพราะเขาได้เห็นว่าความเป็นอิสระของหน่วยเอ็สเอ และความนิยมของเหล่าสมาชิกในการใช้ความรุนแรงบนท้องถนนเป็นภัยคุกคามโดยตรงต่ออำนาจทางการเมืองที่เพิ่งได้รับมา ฮิตเลอร์ยังต้องการจะผูกมิตรกับผู้นำกองทัพ[[ไรชส์เวร์]] กองทัพเยอรมันอย่างเป็นทางการที่หวาดกลัวและชิงชังต่อหน่วยเอ็สเอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเป้าหมายของเริมนั้นเพื่อรวมกองทัพไรชส์เวร์และหน่วยเอ็สเอมาอยู่ภายใต้การนำของเขา นอกจากนี้ฮิตเลอร์เกิดความรู้สึกอึดอัดกับการให้การสนันบสนุนอย่างเปิดของเริมสำหรับ"การปฏิวัติครั้งที่สอง"เพื่อจัดสรรความมั่นคั่ง ในมุมมองของเริม การที่ประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กได้แต่งตั้งให้ฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเยอรมัน เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. ได้สำเร็จอย่างลุล่วงในการปฏิวัติ"ชาตินิยม" แต่ยังไม่ได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ทาง"สังคมนิยม"ของลัทธิชาติสังคมนิยม จนในที่สุด,ฮิตเลอร์ได้ใช้การกวาดล้างเพื่อโจมตีหรือกำจัดนักวิจารณ์เยอรมันในระบอบใหม่ของเขา โดยเฉพาะผู้ที่ภักดีต่อรองนายกรัฐมนตรี [[ฟรันซ์ ฟอน พาเพิน]] เช่นเดียวกับชำระแค้นกับศัตรูเก่า