ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาคำฟั่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''พระยาคำฟั่น'''<ref>วงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, บรรณาธิการ, [http://opac.payap.ac.th/multi/ref/rft000002.pdf เจ้าหลวงเชียงใหม่], 2539, เชียงใหม่ : คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่</ref> หรือ '''พระญาคำฝั้น'''<ref name=chiangmainews>[http://www.chiangmainews.co.th/chaingmai/comefun.html พระญาคำฝั้น เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 3]</ref><ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 348</ref> หรือพระนามเต็มว่า '''"เจ้ามหาสุภัทรราชะ"''' ทรงเป็น[[เจ้าผู้ครองนครลำพูน]]องค์ที่ 1 <ref>http://hrilamphun.com/lam_4.htm</ref> ระหว่างปี พ.ศ. 2357 - พ.ศ. 2358 และ[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]องค์ที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2365 - พ.ศ. 2368 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
 
== พระราชประวัติ ==
'''พระยาคำฟั่นพระญาคำฟั่น''' เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 8 ใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] ผู้ครองนครลำปางองค์ที่ 2 กับแม่เจ้าจันทา และเป็นพระราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] กับแม่เจ้าพิมพา ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ราชวงศ์ทิพย์จักร (เชื้อเจ้าเจ็ดตน)
 
พระยาคำฟั่นพระญาคำฟั่น เป็นพระอนุชาของ[[พระเจ้ากาวิละ]] มีพระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 10 พระองค์ (หญิง 3 ชาย 7) (เจ้าชายทั้ง 7 พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้มีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
 
* [[พระเจ้ากาวิละ]] พระเจ้านครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 1 (นับเป็น "เจ้านครลำปาง องค์ที่ 3" ในราชวงศ์ทิพย์จักร
บรรทัด 40:
เจ้าคำฝั้นเษกสมรสกับแม่เจ้าตาเวย ราชธิดาในเจ้าฟ้าเมืองยางแดง (หรือ เมืองกันตะระวดี) อันเป็นดินแดนกะเหรี่ยงที่รุ่งเรืองและร่ำรวยมากไปด้วย[[สัก (ต้นไม้)|ไม้ขอนสัก]]อันล้ำค่า ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ได้รับพระราชทานพระนามอันเป็นมงคลยิ่งแก่แม่เจ้าตาเวยราชเทวี ว่า "แม่เจ้าเนตรนารีไวยมหาเทวี" แม่เจ้าตาเวยราชเทวี ได้รับมรดกส่วนพระองค์ ในฐานะราชธิดาเจ้าฟ้าเมืองยางแดง เป็นที่ดินป่าไม้ขุนยวม [[อำเภอแม่สะเรียง]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]] จำนวน 400,000 กว่าไร่ ซึ่งปัจจุบันที่ดินดังกล่าวราชสำนักสยามได้ตัดสินให้เป็นป่าไม้ชั้น 2
 
เจ้าคำฟั่นฝั้น ได้รับแต่งตั้งเป็น'''พระยาราชวงศ์'''<ref>วรชาติ มีชูบท (2556) '''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมียะ''' กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค หน้า 4</ref>เมืองเชียงใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ต่อมา จ.ศ. 1176 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระดำริให้รื้อฟื้นเมืองลำพูนไชยซึ่งร้างอยู่ให้กลับเป็นเมือง จึงโปรดเกล้าเลื่อนพระยาราชวงศ์คำฟั่นเป็น'''พระยาลำพูนไชย''' ครองเมืองลำพูนตั้งแต่วันพฤหัสบดี ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 11 ศกนั้น<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 95</ref> ปีต่อมาทรงเลื่อนพระยาลำพูนคำฟั่นเป็น'''พระยาอุปราช'''เมืองเชียงใหม่<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 96</ref> ถึง จ.ศ. 1185 จึงโปรดให้เลื่อนเป็น'''พระยาเชียงใหม่'''<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 97</ref>
 
พระยาคำฝั้นพระญาคำฝั้น ถึงแก่อสัญกรรมสุรคตเมื่อวันแรม 8 ค่ำ เดือน 8 จ.ศ. 1187 ปีระกา<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 98</ref> ตรงกับวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2368
 
== ราชโอรส ราชธิดา ==