ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: ลิงก์ผิดพลาด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคุณภาพ}}
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = โรคความดันโลหิตสูง<br /><small> (Hypertension) </small>
| Image = Grade 1 hypertension.jpg
| Caption = [[มาตรความดันเลือด]]อัตโนมัติ แสดงผลความดันโลหิตสูง (แสดง[[ความดันช่วงหัวใจบีบ]] 158 มิลลิเมตรปรอท [[ความดันช่วงหัวใจคลาย]] 99 มิลลิเมตรปรอท และ[[อัตราหัวใจเต้น]] 80 ครั้งต่อนาที)
บรรทัด 15:
}}
 
'''โรคความดันโลหิตสูง''' ({{lang-en|hypertension}}) เป็น[[โรค]][[เรื้อรัง]]ชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมี[[ความดันเลือด]]ใน[[หลอดเลือดแดง]]สูงกว่าปกติตลอดเวลา<ref name=JNC7/> ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดัน[[systole|ช่วงหัวใจบีบ]]และความดัน[[diastole|ช่วงหัวใจคลาย]] ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่ำสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลำดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อ[[หัวใจห้องล่างซ้าย]]บีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 [[มิลลิเมตรปรอท]]ในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป<ref name=JNC8>{{Cite journal |last1 = James|first1 = PA.|last2 = Oparil|first2 = S.|last3 = Carter|first3 = BL.|last4 = Cushman|first4 = WC.|last5 = Dennison-Himmelfarb|first5 = C.|last6 = Handler|first6 = J.|last7 = Lackland|first7 = DT.|last8 = Lefevre|first8 = ML.|last9 = Mackenzie|first9 = TD.|last10 = Ogedegbe|first10 = Olugbenga|last11 = Smith|first11 = Sidney C.|last12 = Svetkey|first12 = Laura P.|last13 = Taler|first13 = Sandra J.|last14 = Townsend|first14 = Raymond R.|last15 = Wright|first15 = Jackson T.|last16 = Narva|first16 = Andrew S.|last17 = Ortiz|first17 = Eduardo|title = 2014 Evidence-Based Guideline for the Management of High Blood Pressure in Adults: Report From the Panel Members Appointed to the Eighth Joint National Committee (JNC 8)|journal = JAMA|volume = 311|issue = 5|pages = 507–20|date = Dec 2013|doi = 10.1001/jama.2013.284427|pmid = 24352797|display-authors = 8}}</ref>
 
ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของ[[โรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง]] [[โรคหลอดเลือดหัวใจ]] [[โรคหลอดเลือดสมอง]] [[ท่อเลือดแดงโป่งพอง]] [[โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย]] และ[[โรคไตเรื้อรัง]]