ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะโลกร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
HakanIST (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 183.88.248.166 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Instrumental Temperature Record.png|thumb|300px|ค่าผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533]]
[[ไฟล์:Global Warming Map.jpg|thumb|300px|ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2542 ถึง พ.ศ. 2551]]
 
==ปู ==
'''ปรากฏการณ์โลกร้อน''' ({{Lang-en|Global warming}}) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของ[[อุณหภูมิ]]เฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิว[[โลก]]และน้ำใน[[มหาสมุทร]]ตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
 
ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง [[พ.ศ. 2548]] อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 [[องศาเซลเซียส]]
<ref name="grida7">{{cite web | url= http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-spm.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | title=Summary for Policymakers | work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change | accessdate=2007-02-02 | date=2007-02-05 | publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]]|quote=แนวโน้มใน 100 ปี (1906–2005) ที่ 0.74 องศาเซลเซียส [0.56–0.92 องศาเซลเซียส] ได้มากขึ้นกว่าแนวโน้มที่สอดคล้องของ ปี 1901–2000 ของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ 0.6 องศาเซลเซียส [0.4–0.8 องศาเซลเซียส]}}</ref>
ซึ่ง[[คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]] (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “''จากการสังเกตการณ์การเพิ่ม[[อุณหภูมิ]]โดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของ[[แก๊สเรือนกระจก]]ที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของ[[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]]''”
<ref name="grida7" />
ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจาก[[ดวงอาทิตย์]]และการระเบิดของ[[ภูเขาไฟ]] อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อน[[ยุคอุตสาหกรรม]]จนถึง [[พ.ศ. 2490]] และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา<ref>{{cite web | url= http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-chapter9.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | title=Understanding and Attributing Climate Change | work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change | accessdate=2007-05-20 | date=2007-05-07 | publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]] | last=Hegerl | first=Gabriele C. | coauthors=''et al.'' | pages=690}}</ref><ref>{{cite journal | last=Ammann | first = Caspar | coauthors =''et al.'' | date=2007-04-06 | title=Solar influence on climate during the past millennium: Results from ransient simulations with the NCAR Climate Simulation Model | journal=Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume=104 | issue=10 | pages=3713–3718 | url=http://www.pnas.org/cgi/reprint/104/10/3713.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | quote=However, because of a lack of interactive ozone, the model cannot fully simulate features discussed in (44)." "While the NH temperatures of the high-scaled experiment are often colder than the lower bound from proxy data, the modeled decadal-scale NH surface temperature for the medium-scaled case falls within the uncertainty range of the available temperature reconstructions. The medium-scaled simulation also broadly reproduces the main features seen in the proxy records." "Without anthropogenic forcing, the 20th century warming is small. The simulations with only natural forcing components included yield an early 20th century peak warming of ≈0.2&nbsp;°C (≈1950 AD) , which is reduced to about half by the end of the century because of increased volcanism.}}</ref>
ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้ง[[ราชสมาคม]]ทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง
<ref>{{cite web | title = Don't fight, adapt | publisher = [[National Post]] | url = http://www.nationalpost.com/news/story.html?id=164002 | accessdate = 2007-11-18 | date = December 2007}}</ref>
แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้
<ref>{{cite web | title = A guide to facts and fictions about climate change | publisher = [[Royal Society]] | url = http://www.royalsoc.ac.uk/downloaddoc.asp?id=1630 | accessdate = 2007-11-18 | date = March 2005 | quote = "อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ที่ทำงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของอากาศก็เห็นด้วยกับประเด็นหลัก"}}</ref><ref>{{cite web | title = Beyond the Ivory Tower: The Scientific Consensus on Climate Change | publisher = [[Science Magazine]] | url = http://www.sciencemag.org/cgi/content/full/306/5702/1686 | accessdate = 2008-01-04 | date = December 2004}}</ref>
 
[[แบบจำลอง]]การคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 ([[พ.ศ. 2544]]–2643)
<ref name="grida7" />
ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจำลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยาย[[แก๊สเรือนกระจก]]ในอนาคต รวมถึงการจำลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643 แต่ความร้อนจะยังคงเพิ่มขึ้นและ[[ระดับน้ำทะเล]]ก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลาย[[สหัสวรรษ]] แม้ว่าระดับของ[[แก๊สเรือนกระจก]]จะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูมิและระดับน้ำทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจาก[[ความจุความร้อน]]ของน้ำในมหาสมุทรซึ่งมีค่าสูงมาก
<ref name="grida7" />
 
การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทำให้เกิดภาวะ[[ลมฟ้าอากาศสุดโต่ง]] (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น ปริมาณและรูปแบบการเกิด[[หยาดน้ำฟ้า]]จะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่น ๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของ[[ธารน้ำแข็ง]] การสูญพันธุ์พืช-สัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
 
แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้าง ได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะเพิ่มในอนาคต ผลของความร้อนที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบอื่น ๆ ที่จะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบนโลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ แทบทุกประเทศได้ลงนามและให้[[สัตยาบัน]]ใน[[พิธีสารเกียวโต]] ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทาง[[การเมือง]]และการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการว่าควรเป็นอย่างไร จึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดว่าจะต้องเกิดขึ้น{{อ้างอิง}}
 
== คำจำกัดความ ==
คำว่า “'''ปรากฏการณ์โลกร้อน'''” เป็นคำจำเพาะคำหนึ่งของอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก โดยที่ "การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ" มีความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทุกช่วงเวลาของโลก รวมทั้งเหตุการณ์[[ปรากฏการณ์โลกเย็น]]ด้วย โดยทั่วไป คำว่า "ปรากฏการณ์โลกร้อน" จะใช้ในการอ้างถึงสภาวะที่อุณหภูมิของโลกร้อนขึ้นในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา และมีความเกี่ยวข้องกระทบต่อมนุษย์<ref>{{cite web | title = Climate Change: Basic Information | publisher = [[United States Environmental Protection Agency]] | url = http://epa.gov/climatechange/basicinfo.html | accessdate = 2007-02-09 | date = 2006-12-14}}</ref> ใน[[อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]] (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ใช้คำว่า “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” (Climate Change) สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และใช้คำว่า "การผันแปรของภูมิอากาศ" (Climate Variability) สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเหตุอื่น<ref>{{cite web | title = United Nations Framework Convention on Climate Change, Article I | publisher = [[United Nations Framework Convention on Climate Change]] | url = http://unfccc.int/essential_background/convention/background/items/2536.php | accessdate = 2007-01-15 }}</ref>
ส่วนคำว่า “ปรากฏการณ์โลกร้อนจากกิจกรรมมนุษย์” (anthropogenic global warming) มีที่ใช้ในบางคราวเพื่อเน้นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเหตุอันเนื่องมาจากมนุษย์
 
== สาเหตุ ==
[[ไฟล์:Radiative-forcings.svg|thumb|องค์ประกอบของแรงปล่อยรังสี (radiative forcing) ณ ขณะปัจจุบันที่ประเมินค่าโดยรายงานการประเมินค่าฉบับที่ 4 ของ IPCC]]
[[ไฟล์:Carbon_Dioxide_400kyr.png|thumb|250px|[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ในช่วงเมื่อ 400,000 ปีก่อน เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ยุค[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]เป็นต้นมาได้เปลี่ยนวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ที่เรียกว่า “วัฏจักรมิลานโควิทช์” นั้น เชื่อกันว่าเป็นตัวกำหนดวงรอบ 100,000 ปีของวัฏจักร[[ยุคน้ำแข็ง]]]]
เส้น 78 ⟶ 104:
ผลกระทบประการหนึ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเนื่องจากการเพิ่มแรงกระทำจากดวงอาทิตย์ คือการที่บรรยากาศชั้น[[สตราโตสเฟียร์]]อุ่นขึ้น ในขณะที่ตามทฤษฏีของแก๊สเรือนกระจกแล้วชั้นบรรยากาศนี้ควรจะเย็นลง ผลสังเกตการณ์ที่เก็บข้อมูลมาตั้งแต่ประมาณปี [[พ.ศ. 2505]] พบว่ามีการเย็นตัวลงของชั้นสตราโตสเฟียร์ช่วงล่าง<ref>{{cite web|title=Climate Change 2001:Working Group I: The Scientific Basis (Fig. 2.12)|url=http://www.grida.no/climate/ipcc_tar/wg1/fig2-12.htm|date=2001|accessdate=2007-05-08}}</ref> การลดลงของปริมาณโอโซนในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีอิทธิพลต่อการเย็นลงของบรรยากาศมานานแล้ว แต่การลดที่เกิดขึ้นมากโดยชัดเจนปรากฏให้เห็นตั้งแต่ประมาณ [[พ.ศ. 2515]] เป็นต้นมา<ref>http://www.nas.nasa.gov/About/Education/Ozone/history.html</ref>
ความผันแปรของดวงอาทิตย์ร่วมกับการระเบิดของภูเขาไฟ อาจมีผลให้เกิดการเพิ่มอุณหภูมิมาตั้งแต่ยุคก่อนอุตสาหกรรมต่อเนื่องมาถึงประมาณ [[พ.ศ. 2490]] แต่ให้ผลทางการลดอุณหภูมิตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ในปี [[พ.ศ. 2549]]
<ref name="grida7" />
<ref name="grida7">{{cite web|url=http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-spm.pdf|format=[[Portable Document Format|PDF]]|title=Summary for Policymakers|work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change|accessdate=2007-02-02|date=2007-02-05|publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]]|quote=แนวโน้มใน 100 ปี (1906–2005) ที่ 0.74 องศาเซลเซียส [0.56–0.92 องศาเซลเซียส] ได้มากขึ้นกว่าแนวโน้มที่สอดคล้องของ ปี 1901–2000 ของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ 0.6 องศาเซลเซียส [0.4–0.8 องศาเซลเซียส]}}</ref>
ปีเตอร์ ฟูกัล และนักวิจัยอื่น ๆ จากสหรัฐฯ เยอรมันและสวิตเซอร์แลนด์พบว่า ดวงอาทิตย์ไม่ได้ส่องสว่างมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในรอบหนึ่งพันปีที่ผ่านมา วัฏจักรของดวงอาทิตย์ที่ส่องสว่างมากขึ้นทำให้โลกอุ่นขึ้นเพียง 0.07% ใน 30 ปีที่ผ่านมา ผลกระทบนี้จึงมีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์โลกร้อนน้อยมาก ๆ
<ref>{{cite journal | first=Peter | last=Foukal | coauthors=''et al.'' | title=Variations in solar luminosity and their effect on the Earth's climate. | date=2006-09-14 | journal=[[Nature]] | accessdate=2007-04-16 | url=http://www.nature.com/nature/journal/v443/n7108/abs/nature05072.html}}</ref>