ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีบทเล็กของแฟร์มา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ทฤษฎีบทเล็กของแฟร์มา''' ({{lang-en|Fermat's little theorem}}) กล่าวว่า ถ้า ''<math>p''</math> เป็น[[จำนวนเฉพาะ]]แล้ว สำหรับ[[จำนวนเต็ม]] ''<math>a''</math> ใด ๆ จะได้ว่า
:<math>a^p \equiv a \pmod{p}\,\!</math>
 
หมายความว่า ถ้าเลือกจำนวนเต็ม ''<math>a''</math> มาคูณกัน <math>p</math> ครั้ง จากนั้นลบด้วย ''<math>a''</math> ผลลัพธ์ที่ได้จะหารด้วย ''<math>p''</math> ลงตัว (ดู[[เลขคณิตมอดุลาร์]])
 
<math>p\mid a^p-a</math>
ทฤษฎีบทนี้กล่าวอีกแบบหนึ่งได้ว่า ถ้า ''p'' เป็นจำนวนเฉพาะ และ ''a'' เป็นจำนวนเต็มที่เป็น[[จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์]]กับ ''p'' แล้ว จะได้ว่า
:<math>a^{p-1} \equiv 1 \pmod{p}\,\!</math>
 
ทฤษฎีบทนี้กล่าวอีกแบบหนึ่งได้ว่า ถ้า ''<math>p''</math> เป็นจำนวนเฉพาะ และ ''<math>a''</math> เป็นจำนวนเต็มที่เป็น[[จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์]]กับ ''<math>p''</math> แล้ว จะได้ว่า
a^(p-1) สมภาคกับ 1 มอดุโล p เมื่อ p เป็นจำนวนเฉพาะนั้น ควรแก้เป็น
:<math>a^{p-1} \equiv 1 \pmod{p}\,\!</math>
a^p สมภาคกับ a มอดุโล p มากกว่า
 
== บทพิสูจน์ ==
เส้น 15 ⟶ 14:
 
== จำนวนเฉพาะเทียม ==
ถ้า'' <math>a''</math> และ ''<math>p''</math> เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กัน และทำให้ <math>\,a^{p-1} - 1</math> หารด้วย ''<math>p''</math> ลงตัว แล้ว ''<math>p''</math> ไม่จำเป็นจำนวนเฉพาะเสมอไป ถ้า ''<math>p''</math> ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ เราจะเรียก ''<math>p''</math> ว่าเป็น [[จำนวนเฉพาะเทียม|''จำนวนเฉพาะเทียม'']] (''pseudoprime'') ฐาน ''<math>a''</math>. ใน [[ค.ศ. 1820]] F. Sarrus พบว่า <math>341 = 11×11\times31</math> เป็นจำนวนเฉพาะเทียมฐาน 2 ตัวแรก
 
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีจำนวน]]