ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปสงค์และอุปทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 4:
โดยทั่วไป '''อุปสงค์''' ({{Lang-en|demand}}) หมายถึง ความต้องการซื้อสินค้าและบริการ<ref>Bannock G., R.E. Baxter, and R. Rees. (1985), "Demand". ''The Penguin Dictionary of Economics'', 3rd ed. Harmondsworth: Penguin Books Ltd, 114. ISBN 0-14-051134-2. {{en icon}}</ref> ในขณะที่'''อุปทาน''' (supply) หมายถึง ความต้องการขายสินค้าและบริการ<ref>Bannock G., R.E. Baxter, and R. Rees. (1985), "Supply". ''The Penguin Dictionary of Economics'', 3rd ed. Harmondsworth: Penguin Books Ltd, 420. ISBN 0-14-051134-2. {{en icon}}</ref>
 
== กฎอุปสงค์และอุปทาน โมชิ gg ==
 
'''กฎอุปสงค์''' (Law of Demand) และ'''อุปทาน''' (Law of Supply) เป็นหลักการที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อหรือขาย โดยกฎอุปสงค์ระบุว่า ปริมาณความต้องการซื้อสินค้า หรือเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ (quantity demanded) มีความสัมพันธ์ในทางลบกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือ เมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะต้องการซื้อสินค้านั้นน้อยลง กฎอุปทานระบุว่า ปริมาณสินค้าที่ต้องการขาย หรือปริมาณอุปทาน (quantity supplied) มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือเมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้ขายมีแนวโน้มที่จะต้องการขายสินค้ามากขึ้น