ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอัครชายา (หยก)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
กระจ่างนภา (คุย | ส่วนร่วม)
กระจ่างนภา (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 60:
 
== ข้อถกเถียงพระอิสริยยศ ==
สำหรับพระอิสริยยศของสมเด็จพระราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]นั้น ไม่มีปรากฎแน่ชัดว่าในรัชกาลที่ 1 สถาปนาพระราชชนนีไว้ว่าเช่นใด ตามความเข้าใจเลยออกพระนามเป็นพระอัครชายาเธอในสมเด็จพระชนกาธิบดี ต่อมาปรากฎการออกพระนามในเรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ระบุไว้ในพระราชพิธีพระราชกุศลกาลานุกาล ออกพระนามพระอัฐิพระราชชนนีในรัชกาลที่ 1 ว่า '''สมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ'''<ref name="พระราชพิธีสิบสองเดือนเวียงวัง">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า ลดาวัลย์ มหาวรรณ)
| ชื่อหนังสือ = เวียงวัง เล่ม ๑
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์เพื่อนดี บริษัท อักษรโสภณ จำกัด
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 2 มีนาคม 2551
| ISBN = 978-974-253-061-7
| หน้า = หน้าที่ 60
| จำนวนหน้า = 300
}}
</ref>
ต่อมาปรากฎการออกพระนามในเรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ระบุไว้ในพระราชพิธีพระราชกุศลกาลานุกาล ออกพระนามพระอัฐิพระราชชนนีในรัชกาลที่ 1 ว่า '''สมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ'''<ref name="พระราชพิธีสิบสองเดือน">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
| ชื่อหนังสือ = พระราชพิธีสิบสองเดือน
เส้น 72 ⟶ 84:
}}
</ref>
มีพระอิสริยยศเป็นรองจากสมเด็จพระอัครมเหสี ซึ่งน่าจะออกพระนามเช่นนี้มาตั้งแต่รัชกาลที่ 4 พร้อมกับการออกพระนามสมเด็จพระปฐมบรมอัยกาธิบดี (ในต้นรัชกาลที่ 4 ยังไม่นับถึงชั้นทวด ทำให้คำราชาศัพท์สุดสิ้นที่ ชั้นปู่,ย่า เท่านั้น) นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ 5 คำราชาศัพท์ไม่มีคำว่า เทียด และคำว่า ทวดผู้หญิง ก็ไม่มีปรากฎพระราชนิยมใช้ในสมัยนั้น (คำว่าพระปัยยิกา เพิ่งมีระบุชัดในรัชกาลที่ 6) <ref name="เวียงวัง">{{อ้างหนังสือ
ซึ่งน่าจะออกพระนามเช่นนี้มาตั้งแต่รัชกาลที่ 4 และไม่ปรากฎหลักฐานว่ามีการสถาปนาเปลี่ยนพระอิสริยยศสมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ ให้เป็นพระอิสริยยศอื่น ซึ่งตามประเพณีจะไม่มีการลดพระอิสริยยศพระบรมราชบุพการีลงเป็นอันขาด แต่ในหนังสือราชสกุลวงศ์ที่กรมศิลปากรจัดพิมพ์ กลับออกพระนามว่า ''พระอัครชายา (หยก)'' ซึ่งดูเป็นการลดพระอิสริยยศไปจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาปนาไว้ที่ ''สมเด็จพระ'' เป็นเพียง ''พระอัครชายา'' ดังนั้นจึงควรออกพระนามเรียกพระอิสริยยศพระราชชนนีในรัชกาลที่ 1 ว่า '''สมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ''' ดังเช่นการอนุโลมออกพระนาม[[สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี]] เป็นสำคัญ
| ผู้แต่ง = จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า ลดาวัลย์ มหาวรรณ)
| ชื่อหนังสือ = เวียงวัง เล่ม 2
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์เพื่อนดี บริษัท อักษรโสภณ จำกัด
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 2 มีนาคม 2551
| ISBN = 978-974-253-061-7
| หน้า =
| จำนวนหน้า = 300
}}
</ref>
ซึ่งน่าจะออกทำให้พระนามเช่นนี้มาตั้งแต่ราชชนนีในรัชกาลที่ 41 ทรงดำรงเป็น พระอัยยิกา แต่พระราชชนกในรัชกาลที่ 1 ออกพระนามเป็นสมเด็จพระปฐมบรมปัยกาธิบดี และไม่ปรากฎหลักฐานว่ามีการสถาปนาเปลี่ยนพระอิสริยยศสมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ ให้เป็นพระอิสริยยศอื่น ซึ่งตามประเพณีจะไม่มีการลดพระอิสริยยศพระบรมราชบุพการีลงเป็นอันขาด แต่ในหนังสือราชสกุลวงศ์ที่กรมศิลปากรจัดพิมพ์ กลับออกพระนามว่า ''พระอัครชายา (หยก)'' ซึ่งดูเป็นการลดพระอิสริยยศไปจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาปนาไว้ที่ ''สมเด็จพระ'' เป็นเพียง ''พระอัครชายา'' ดังนั้นจึงควรออกพระนามเรียกพระอิสริยยศพระราชชนนีในรัชกาลที่ 1 ว่า '''สมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ''' ดังเช่นการอนุโลมออกพระนาม[[สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี]] เป็นสำคัญ
 
== อ้างอิงและเชิงอรรถ ==