ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีซูซุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 24:
ในปี พ.ศ. 2502 ได้จัดตั้งสำนักงานขาย ขึ้นเป็นครั้งแรกที่ เชิงสะพานหัวช้าง กรุงเทพมหานคร
 
เดือนพฤศจิกายน [[พ.ศ. 2506]] บริษัท มิตซูบิชิ (ประเทศไทย) จำกัด เริ่มต้นการประกอบรถยนต์อีซูซุ ภายในประเทศ ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2509 จึงก่อตั้ง บริษัท อีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด ขึ้นเพื่อประกอบรถยนต์อีซูซุ
 
เดือนพฤศจิกายน [[พ.ศ. 2517]] สำนักงานขายและศูนย์บริการได้รับการบริหารใหม่เป็นบริษัทอิสระ ภายใต้ชื่อ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด โดยการร่วมทุนของ บริษัท มิตซูบิชิ คอร์ปอเรชั่น และบริษัท อีซูซุมอเตอร์ ประเทศญี่ปุ่น ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ ในฐานะผู้จัดจำหน่ายรถอีซูซุ ชิ้นส่วนอะไหล่อีซูซุ และซ่อมบำรุงรถอีซูซุ รวมถึงการตลาดในประเทศไทย
 
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2528 บริษัท ไทยออโต้เซลส์ จำกัด ได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินธุรกิจด้านสินเชื่อรถยนต์
 
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2530 บริษัท อีซูซุเอ็นยิ่นแมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด ได้รับใบอนุญาตจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนให้ผลิตเครื่องยนต์จำหน่าย
 
ในปี [[พ.ศ. 2532]] ได้เปิดตัว[[อีซูซุ ฟาสเตอร์|อีซูซุ ฟาสเตอร์ แซด นิวสองพันห้าดีไอ]] (Isuzu Faster Z New 2500 Di) หรือในตระกูล อีซูซุ ทีเอฟอาร์ (Isuzu TFR)
 
ในปี พ.ศ. 2535 ได้เปิดตัวรถเอนกประสงค์ที่มีพื้นฐานมาจากรถกระบะ[[อีซูซุ วิซาร์ด|อีซูซุ คาเมโอ]] (Isuzu Cameo)
 
ในช่วง [[พ.ศ. 2534]]-[[พ.ศ. 2540|2540]] อีซูซุได้ประกอบรถกระบะให้กับค่ายรถยนต์อื่น คือ ฮอนด้า (ตามโครงการแลกเปลี่ยนผลิตภัณท์)และ โอเปิล(ซึ่งจีเอมออกแบบและพัฒนาร่วมกันก่อนแล้วแต่สมัยนั้นรถของจีเอ็มในประเทศไทย ยังเป็น [[โอเปิล]] ไม่ใช่ [[เชฟโรเลต]]) เนื่องจากฮอนด้า และ จีเอ็ม(สมัยนั้นยังเป็นโอเปิล) ยังไม่มีรถกระบะเป็นแบรนด์ของตัวเอง แต่อยากจะมีส่วนร่วมในรถกระบะบ้าง จึงให้อีซูซุประกอบให้ โดยฮอนด้าใช้ชื่อว่า '''[[ฮอนด้า ทัวร์มาสเตอร์]]''' ส่วนโอเปิล(จีเอ็ม)ใช้ชื่อว่า '''[[โอเปิล แคมโป้]]''' แต่ยอดขายย่ำแย่มาก
บรรทัด 40:
ในช่วง [[พ.ศ. 2539]]-[[พ.ศ. 2546|2546]] อีซูซุไม่มีรถเก๋งเป็นแบรนด์ของตัวเอง จึงให้[[ฮอนด้า]]ประกอบให้ โดยให้ชื่อว่า '''[[อีซูซุ เวอร์เท็กซ์]]''' ถึงแม้ว่ารุ่นนี้จะเป็นรุ่นแรกที่เป็น[[รถซีดาน]] หรือรถเก๋งรุ่นสุดท้ายของอีซูซุประเทศไทย และใช้พรีเซนเตอร์ชื่อดังอย่าง [[ริชาร์ด เกียร์]] แต่กลับทำยอดขายได้ย่ำแย่แต่ก็ขายได้ดีกว่ากระบะของ[[ฮอนด้า]]และ[[โอเปิล]] โดยเลิกผลิตในปี [[พ.ศ. 2545]]
 
เดือนมิถุนายน [[พ.ศ. 2540]] ด้วยความเชื่อถือและสนับสนุนจากประชาชนชาวไทย รถอีซูซุทุกรุ่นสามารถ บรรลุยอดจำหน่ายรวมถึง 1 ล้านคัน ในวันที่16 พฤษภาคม ปี [[พ.ศ. 2545]] ทางอีซูซุจึงได้เปิดตัวรถกระบะที่สมบูรณ์แบบที่สุดของอีซูซุเท่าที่เคยมีมา คือ [[อีซูซุ ดีแมคซ์]] ซึ่งเปิดตัวครั้งแรกในโลกที่[[ประเทศไทย]] และอีก 2 ปีถัดมา ได้มีการเปิดตัว [[อีซูซุ มิว-เซเว่น]] ซึ่งเป็นรถเอนกประสงค์ที่ดัดแปลงจากรถกระบะ(พีพีวี)
 
เดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2550]] เฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปีทอง การดำเนินกิจการอีซูซุในประเทศไทย และฉลองยอดผลิต และยอดจำหน่ายอีซูซุทุกรุ่นครบ 2,000,000 คันในเดือนตุลาคมปี [[พ.ศ. 2554]] ได้มีการเปิดตัว [[อีซูซุ ดีแมคซ์ รุ่นใหม่หมด]] พร้อมกับ เปิดโรงงานแห่งใหม่ที่นิคมอุตสาหกรรม เกต์เวย์ จ.ฉะเชิงเทรา เพื่อเป็นการรองรับการผลิตและความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ
 
เดือนพฤศจิกายน [[พ.ศ. 2555]] ได้เฉลิมฉลองยอดผลิตรถในไทยที่3,000,000คันพร้อมเปิดตัว[[อีซูซุ ดีแมคซ์|อีซูซุ ดีแมคซ์ เอ็กซีรีส์]]รุ่นพิเศษแต่งสปอร์ต ในเดือนพฤศจิกายนปี [[พ.ศ. 2556]] ได้เปิดตัวรถเอนกประสงค์[[อีซูซุ มิวเอ็กซ์]]รุ่นใหม่มาแทนมิวเซเว่น
บรรทัด 52:
เดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2559]] ได้เปิดตัวอีซูซุ ดีแมคซ์ เอ็กซ์-ซีรีส์ 1.9 ดีดีไอ บลูพาวเวอร์ และได้เปิดตัวรถเอนกประสงค์[[อีซูซุ มิวเอ็กซ์ 1.9 ดีดีไอ บลูพาวเวอร์]] ในหัวข้อ เอกสิทธิ์แห่งผู้นำ กำหนดอนาคต
 
=== ผลิตภัณฑ์อีซูซุในประเทศไทย ===
ประกอบด้วย รถหัวลาก รถบรรทุก รถโดยสาร รถปิกอัพขับเคลื่อน 2 ล้อ และ 4ล้อ และรถยนต์นั่งอเนกประสงค์ขับเคลื่อน 2 ล้อและ 4 ล้อ โดยมี เครือข่ายการจำหน่าย ศูนย์บริการ และอะไหล่เกือบ 300 แห่งทั่วประเทศ
 
=== รุ่นที่ยังดำเนินการผลิตอยู่ในปัจจุบันในประเทศไทย ===
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[อีซูซุ ดีแมคซ์ บลู พาวเวอร์]] (Isuzu D-Max Blue Power)
* รถเอนกประสงค์ SUV [[อีซูซุ มิว-เซเว่น|อีซูซุ มิว-เอ็กซ์ บลู พาวเวอร์]] (Isuzu MU-x Blue Power)
=== รุ่นที่เลิกการผลิตไปแล้วในประเทศไทย ===
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[อีซูซุ ดีแมคซ์]] (Isuzu D-Max) ปี 2545-2554
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[อีซูซุ ฟาสเตอร์|อีซูซุ ดราก้อน เพาเวอร์]] (Isuzu Dragon Power) ปี 2543-2545
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[อีซูซุ ฟาสเตอร์|อีซูซุ ดราก้อน อายส์]] (Isuzu Dragon Eyes) ปี 2540-2543
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[อีซูซุ ฟาสเตอร์|อีซูซุ ฟาสเตอร์ แซด นิวสองพันห้าดีไอ]] (Isuzu Faster Z New 2500 Di) หรือในตระกูล อีซูซุ ทีเอฟอาร์ (isuzuIsuzu TFR) นักเลงรถมักเรียกว่ามังกรทอง เพราะรุ่นแรกในโฆษณามีหุ่นยนต์มังกรสีทองขึ้นมาทำให้เป็นที่จดจำได้ง่าย ขายระหว่างปี 2532-2540
* รถกระบะเพื่อการพาณิชย์ขนาด 1 ตัน [[อีซูซุ ฟาสเตอร์|อีซูซุ ฟาสเตอร์ แซด]] (Isuzu Faster Z)
* รถเอนกประสงค์ [[อีซูซุ วิซาร์ด|อีซูซุ คาเมโอ]] (Isuzu Cameo) เรื่มการผลิตพ.ศ. 2535-2539
บรรทัด 69:
* รถเอนกประสงค์ SUV [[อีซูซุ วิซาร์ด|อีซูซุ เวก้า]] (Isuzu Vega) ปีพ.ศ. 2541-2547
* รถยนต์นั่ง 4 ประตูขนาดเล็ก [[ฮอนด้า ซีวิค|อีซูซุ เวอร์เท็กซ์]] (Isuzu Vertex)
* รถยนต์นั่ง 4 ประตูขนาดกลาง [[อีซูซุ อาสก้า]] (isuzuIsuzu aska)
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อีซูซุ"