ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Gusht123/กระบะทราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gusht123 (คุย | ส่วนร่วม)
Gusht123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
== ประวัติ ==
เอกลักษณ์อย่างหนึ่งของความเป็นไทย ‘ผ้าขาวม้า’ คือหนึ่งในความภาคภูมิใจที่อยู่กับเรามานานหลายยุคสมัย เกือบทุกท้องถิ่นต้องมีไว้ใช้เริ่มจากชื่อของ จนกลายเป็นผ้าสามัญประจำบ้านผ้าขาวม้า แต่คุณอาจจริงๆ แล้วไม่ทราบใช่ภาษาไทย แต่มาก่อนจากเปอร์เซียคำว่า เบื้องหลังความธรรมดาของผ้าขาวม้า‘กามาร์บันด์’ (Kamar Band) ซึ่ง ‘กามาร์’ นั้นหมายถึง มีที่มาไม่ธรรมดาเอว หรือ ท่อนล่างของร่างกาย ‘บันด์’ หมายถึง การพัน รัด หรือ คาด เมื่อนำทั้งสองคำมารวมกันจึงหมายถึง เข็มขัด ผ้าพัน หรือ คาดสะเอว มีพัฒนาการงานวิจัยเสนอว่า ‘ผ้าขาวม้า’ เป็นคำที่เพี้ยนมาจากอดีตจนถึงปัจจุบันคำว่า ‘กามา’ (Kamar) ซึ่งเป็นภาษาอิหร่านที่น่าทึ่งอย่างยิ่งใช้กันอยู่ในประเทศสเปน เพราะในประวัติศาสตร์ ประเทศทั้งสองมีการติดต่อกันมาช้านาน ต่อมาประเทศไทยได้รับอิทธิพลทางภาษามาด้วย
 
เริ่มจากชื่อของ ผ้าขาวม้า จริงๆ แล้วไม่ใช่ภาษาไทย แต่มาจากเปอร์เซียคำว่า ‘กามาร์บันด์’ (Kamar Band) ซึ่ง ‘กามาร์’ นั้นหมายถึง เอว หรือ ท่อนล่างของร่างกาย ‘บันด์’ หมายถึง การพัน รัด หรือ คาด เมื่อนำทั้งสองคำมารวมกันจึงหมายถึง เข็มขัด ผ้าพัน หรือ คาดสะเอว มีงานวิจัยเสนอว่า ‘ผ้าขาวม้า’ เป็นคำที่เพี้ยนมาจากคำว่า ‘กามา’ (Kamar) ซึ่งเป็นภาษาอิหร่านที่ใช้กันอยู่ในประเทศสเปน เพราะในประวัติศาสตร์ ประเทศทั้งสองมีการติดต่อกันมาช้านาน ต่อมาประเทศไทยได้รับอิทธิพลทางภาษามาด้วย
 
หลักฐานที่แสดงว่าคนไทยเริ่มใช้ผ้าขาวม้ามีข้อมูลว่าตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ราวยุคสมัยเชียงแสน โดยได้รับอิทธิพลจากชาวไทยใหญ่ที่ใช้ผ้าขาวม้า โพกศีรษะ ต่อมาผู้ชายไทยใช้ผ้าเคียนเอว (ผูกเอว) และยังประยุกต์ใช้ประโยชน์หลากหลาย เช่น ใช้ห่อเก็บสัมภาระเดินทาง ห่ออาวุธ นุ่งเวลาอาบน้ำ เช็ดตัว หรือปูนอน และยังมีปรากฏให้เห็นจากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัดภูมินทร์ จ.น่าน และเมื่อดูการแต่งกายของหญิง-ชายไทยในสมัยอยุธยาจากภาพเขียนในสมุดภาพไตรภูมิสมัยอยุธยา ราวต้นพุทธศตวรรษที่ 22 จะเห็นชาวอโยธยานิยมใช้ผ้าขาวม้าพาดบ่า คาดพุง หรือนุ่งโจงกระเบนแล้วใช้ผ้าขาวม้าคล้องคอตลบห้อยชายทั้งสองข้างไว้ด้านหลัง      ส่วนสมัยรัตนโกสินทร์ ความนิยมใช้ประโยชน์ไม่จำกัดแต่เพียงเพศชายเหมือนในอดีต และไม่จำกัดเฉพาะทำเป็นเครื่องตกแต่งร่างกาย  ผ้าขาวม้าเป็นอาภรณ์อเนกประสงค์ มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส่วนใหญ่ทอมาจากฝ้าย แต่ก็มีที่ทอจากเส้นไหมด้วยเช่นกัน หรือบางท้องถิ่นทอจากเส้นด้ายดิบและเส้นป่าน นิยมทอสลับสีเป็นลายตาหมากรุก หรือเป็นลายทาง โดยมากผลิตในแถบภาคเหนือหรือภาคอีสาน มีขนาดโดยทั่วไปกว้างประมาณ 3 คืบ ยาว 5 คืบ คุณสมบัติที่สำคัญของผ้าขาวม้าคือ เป็นผ้าทอลายทางตรงและขวางตัดกันมีขนาดสี่เหลี่ยมผืนผ้าพอเหมาะ ใช้งานได้หลากหลายสารพัดนึกยิ่งใช้นานยิ่งนุ่ม ซับน้ำได้ดี แห้งเร็ว ทนทานนานนับปี บางประเภทเป็นผ้าทอจากเส้นไหมราคาสูง มักใช้เป็นผ้าพาดไหล่ จนกระทั่งมีการนำผ้าขาวม้ามาเป็นชุดไทยพระราชทานชุดคาดเอว ถือเป็นจุดสำคัญที่ผ้าขาวม้าได้กลายเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ไทยสำหรับราคาจะแตกต่างกันออกไปตามวัสดุที่ใช้ (ถ้าเป็นผ้าไหมเนื้อดีจะมีราคาแพง นิยมใช้แตะพาดบ่าหรือพาดไหล่)  ในยุคแรกคนไทยจะเรียกผ้าสารพัดประโยชน์ผืนนี้ว่า ‘ผ้าเคียนเอว’ ก่อนจะเปลี่ยนเป็น ‘ผ้าขาวม้า’ ในภายหลัง