ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำไย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7067468 โดย Potapt: ด้วยสจห.
บรรทัด 19:
}}
 
'''ลำไย''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Dimocarpus longan}}; (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 58:
* '''4. ลำไยสายน้ำผึ้ง''' ลักษณะคล้ายลำไยธรรมดา แต่เนื้อมีสีเหลืองอ่อน เนื้อมีรสดี หอมกรอบ เมล็ดเล็ก
 
* '''5. ลำไยเถา หรือลำไยเครือ''' เป็นไม้ต้นรอเลื้อย ลำต้นไม่มีแก่นจึงพันเข้ากับรั้วหรือหลัก ผลเล็ก, เมล็ดโตกว่าลำไยบ้าน, เนื้อหุ้มเมล็ดบางมีเนื้อน้อย รสชาติมีกลิ่นคล้ายกำมะถันจึงนิยมปลูกไว้ประดับมากกว่ารับประทาน <ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล,. ''ลำไยเครือ'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555: หน้า 94-95</ref> นิยมปลูกไว้ประดับมากกว่าปลูกไว้รับประทาน ชอบขึ้นตามป่าเขา
 
* '''6. ลำไยขาว''' เป็นลำไยพันธุ์โบราณหายาก ในครั้งหนึ่งเชื่อว่าเคยสูญพันธุ์ไปแล้วจากประเทศไทย แต่ในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการตามหาและตอนกิ่งขยายพันธุ์อีกครั้งหนึ่ง ผลขนาดเล็กกว่าลำไยทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลอ่อนเกือบขาว เนื้อสีขาวใส เมล็ดลีบ รสหวาน <ref>เศรษฐมันต์ กาญจนกุล,. ''ลำไยขาว'' ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555: หน้า 104 - 105</ref>
 
และยังมีลำอีกอยากหลายชนิดที่ยังไม่ถูกจำแนก เช่น ลำไยใบหยก, ลำไยอีสร้อย, ลำไยตอหลวง, ลำไยเพรชน้ำเอก, ลำไยพวงเพชรบ้านแพ้ว เป็นต้น ฯลฯ
 
== ประโยชน์ของลำไย ==
ไร้ค่า ไม่มีประโยชน์อะไรแม้แต่น้อย ไส้ติ่งยังมีประโยชน์กว่าลำไยพวกนี้อีก
เปลือกของต้นมีสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาและมีรสฝาดใช้ต้มเป็นยาหม้อแก้ท้องร่วง ลำต้นมีขนาดใหญ่ สูงประมาณ 30-40 ฟุต เนื้อไม้มีสีแดงและแข็งสามารถใช้ทำเครื่องใช้ประดับบ้านได้ เนื้อลำไยกินสดเป็นผลไม้ ทำเป็นอาหารหวาน เช่น ข้าวเหนียวเปียกลำไย วุ้นลำไย ลำไยลอยแก้ว น้ำลำไย หรือแปรรูป เช่น บรรจุกระป๋อง ตากแห้งสามารถทำเป็นชาชงดื่ม เป็นยาบำรุงกำลังช่วยให้หลับสบายเจริญอาหาร แต่ถ้ากินลำไยมากเกินไปจะเกิดอาการร้อนใน แผลในปาก หรือตาแฉะได้<ref name = "ลำไย"/> ในตำรายาจีนเรียกกุ้ยหยวน (ภาษาจีนกลาง) หรือ กุ้ยอี้ (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) ใช้เป็นยาบำรุงเลือด กล่อมประสาท<ref>ภาสกิจ วัณณาวิบูล. รู้เลือกรู้ใช้ 100 ยาจีน. กทม. ทองเกษม. 2555</ref>
=== คุณค่าทางอาหารของลำไย ===
กองวิทยาศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยได้ทำการวิเคราะห์ส่วนประกอบของลำไยปรากฏผลว่า{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
# ลำไยสดทั่วไปประกอบด้วยน้ำ81.1%คาร์โบไฮเดรต16.98%โปรตีน0.97%เถ้า0.56%กาก0.28%และไขมัน 0.11%
# ในลำไยสด100กรัมจะมีค่าความร้อน72.8แคลอรีและมีวิตามิน69.2มิลลิกรัมแคลเซียม57มิลลิกรัมฟอสฟอรัส35.17มิลลิกรัมและธาตุเหล็ก0.35มิลลิกรัม
# ลำไยแห้งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 69.06%น้ำ 21.27%โปรตีน 4.61%เถ้า 3.33%กาก 1.50%และไขมัน 0.171%
# ลำไยแห้ง 100กรัมจะมีค่าความร้อน 296.1แคลอรี แคลเซียม 32.05มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 150.5มิลลิกรัมโซเดียม 4.78มิลลิกรัม เหล็ก 2.85มิลลิกรัม โพแทสเซียม 1390.3มิลลิกรัม กรดแฟนโทซินิค 0.72มิลลิกรัมวิตามินบี 12จำนวน 1.08มิลลิกรัม
 
ในเมล็ดลำไยมีปริมาณโปรตีนรวม 6.5% ปริมาณไขมันรวม1.94% และปริมาณเยื่อใยรวมเป็น 8.33% ค่าพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้จริงเป็น 3,365 kcal/kg สามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ได้ ในเปลือกหุ้มเมล็ดของลำไยมีปริมาณ[[แทนนิน]]สูง<ref>บัวเรียม มณีวรรณ์*ทองเลียน บัวจูม เผ่าพงษ์ ปูระณะพงษ์ และ โยธิน นันตา.[http://dra.research.nu.ac.th/nurc7/filesns7/981.pdf การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี การย่อยได้ของโภชนะ และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ของเมล็ดลำไยและเนื้อในเมล็ดลำไยในไก่พื้นเมือง]. การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัยครั้งที่ 7 29 – 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</ref>
 
== อ้างอิง ==
;อ้างอิง
{{รายการอ้างอิง}}
;บรรณานุกรม
*{{cite book| title=ผลไม้ในเมืองไทย|first=เศรษฐมันต์|last= กาญจนกุล |publisher=เศรษฐศิลป์|year=2555|isbn=}}
 
[[หมวดหมู่:วงศ์เงาะ]]
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Dimocarpus longan|ลำไย}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
;== อ้างอิง ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Dimocarpus longan|ลำไย}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{wikispecies-inline|Dimocarpus longan}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ลำไย"