ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 217:
 
# ผู้อุทิศร่างกายฯ ที่ถึงแก่กรรมมีสาเหตุจากติดเชื้อโรคร้ายแรง เช่น [[โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง]](โรคเอดส์) [[ไวรัสตับอักเสบ]] [[วัณโรค]]และ[[พิษสุนัขบ้า]]
# ผู้อุทิศร่างกายที่ผ่านการฉายรังสีในการรักษาโรคต่างๆต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 1 ปี
# ผู้อุทิศร่างกายฯ เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ มีคดี เกี่ยวข้องกับคดีหรือมีการผ่าพิสูจน์
# ร่างกายผู้อุทิศร่างกายฯ มีลักษณะกลิ่นจากการเนื้อเยื่อเน่าเสีย
บรรทัด 300:
 
== WHO Collaborating Centre ==
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับความไว้วางใจจาก[[องค์การอนามัยโลก]]ให้เป็น '''WHO Collaborating Centre''' ในสาขาต่างๆต่าง ๆ อาทิ
* ศูนย์ความร่วมมือด้าน[[แพทยศาสตรศึกษา]] - Medical Education<ref>"WHOCC - WHO Collaborating Centres." WHOCC - WHO Collaborating Centres. Accessed March 31, 2017. http://apps.who.int/whocc/Detail.aspx?cc_ref=THA-73&cc_city=bangkok&.</ref>
* ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัย[[การสืบพันธุ์]]ของมนุษย์ - Research in Human Reproduction<ref name=":0">"WHOCC - WHO Collaborating Centres." WHOCC - WHO Collaborating Centres. Accessed March 31, 2017.http://apps.who.int/whocc/Detail.aspx?cc_ref=THA-19&cc_city=bangkok&.</ref>
บรรทัด 415:
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ริเริ่มจัด ''โครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท'' (Medical Education for Students in Rural Area Project-MESRAP) เป็นครั้งแรกของประเทศเมื่อ พ.ศ. 2521<ref>[http://www.cabinet.soc.go.th/soc/Program2-3.jsp?top_serl=91440&key_word=โครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท&owner_dep=&meet_date_dd=&meet_date_mm=&meet_date_yyyy=&doc_id1=&doc_id2=&meet_date_dd2=&meet_date_mm2=&meet_date_yyyy2= มติคณะรัฐมนตรี 21 มีนาคม 2521 เรื่อง โครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท ]</ref> เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาทางด้านแพทยศาสตร์ไปสู่ชนบทเป็นครั้งแรก และเป็นแม่แบบของ ''โครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท'' (Collaborative Project to Increase Production of Rural Doctor-CPIRD) ของกระทรวงสาธารณสุขในเวลาต่อมา โดยคณะได้ร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข จัดการเรียนการสอนชั้นคลินิกที่โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรีและโรงพยาบาลชลบุรี นอกจากนี้ยังได้ริเริ่ม ''โครงการการศึกษาแพทย์แนวใหม่''เป็นแห่งแรกของประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2531 โดยเป็นโครงการร่วมระหว่าง[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]-[[กองทัพอากาศ]]ดำเนินการรับนิสิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสายวิทยาศาสตร์ มาศึกษาต่อในสาขาแพทยศาสตร์เป็นเวลา 5 ปี โดยใช้โรงพยาบาลภูมิพลอดุลเดชเป็นสถานที่เรียนชั้นคลินิก และยุติโครงการไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ในปี พ.ศ. 2556 ทางโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช จะเปิดโครงการร่วม "แพทย์จุฬาฯ-ทหารอากาศ" โดยศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ที่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และศึกษาชั้นปีที่ 4-6 ที่โรงพยาบาลภูมิพลฯ
 
ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงการผลิตแพทย์ต่างๆต่าง ๆ ตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีโครการที่ยังคงดำเนินการอยู่ ได้แก่ โครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โครงการทุนกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน (One Doctor One District project-ODOD) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 และโครงการลงทุนขนาดใหญ่ภาครัฐด้านสาธารณสุข (Mega project) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550
โดยนิสิตในทุกโครงการจะศึกษาในชั้นปีที่ 1-3 (พรีคลินิก) ที่คณะแพทยศาสตร์และคณะอื่นๆอื่น ๆ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นจึงไปศึกษาต่อระดับชั้นคลินิกในโรงพยาบาลที่ให้ความร่วมมือในโครงการผลิตแพทย์ต่าง ๆ ดังนี้
 
{| class="toccolours" width = 100%