ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริเวณความกดอากาศต่ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|สำหรับ=บริเวณความกดอากาศ|ดูที่=ระบบความดันอากาศ}}
[[ไฟล์:Low pressure system over Iceland.jpg|thumb|right|250 px|การหมุนทวนเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกเหนือ บริเวณเหนือประเทศไอซ์แลนด์]]
[[ไฟล์:Southern hemisphere extratropical cyclone.jpg|thumb|250 px|การหมุนตามเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกใต้(ในภาพเป็นบริเวณทางใต้ของ[[ประเทศออสเตรเลีย]]) บริเวณจุดศูนย์กลางมักจะเป็นบริเวณที่มีค่าความกดอากาศต่ำสุด]]
{{ความหมายอื่น|สำหรับ=บริเวณความกดอากาศ|ดูที่=ระบบความดันอากาศ}}
[[ไฟล์:SouthernLow hemispherepressure extratropicalsystem cycloneover Iceland.jpg|thumb|right|250 px|การหมุนตามทวนเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกใต้(ในภาพเป็นบริเวณทางใต้ของประเทศออสเตรเลีย)เหนือ บริเวณจุดศูนย์กลางมักจะเป็นบริเวณที่มีค่าความกดอากาศต่ำสุดเหนือ[[ประเทศไอซ์แลนด์]]]]
'''บริเวณความกดอากาศต่ำ''' หรือ '''หย่อมความกดอากาศต่ำ''' ({{lang-en|Low-pressure area}}) คือ บริเวณที่มีค่า[[ความกดอากาศ]]ต่ำจากการเปรียบเทียบกับบริเวณรอบโดยรอบ การเกิดความกดอากาศต่ำ เกิดจากการที่มวลของอากาศได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ มวลอากาศจะยกตัวสูงขึ้นทำให้ความกดอากาศบริเวณนั้นมีค่าลดลง
 
เมื่อมวลอากาศที่ลอยตัวขึ้นเนี่องจากความร้อนเย็นตัวลงด้านบนทำให้เกิดเป็นเมฆขึ้น โดยทั่วไปท้องฟ้าบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำจะมีเมฆปกคลุม ผลคือทำให้อุณหภูมิของพื้นที่นั้นลดลงจากการสะท้อนแสงและคลื่นที่มาจากดวงอาทิตย์ในช่วงเวลากลางวัน ในยุโรปการเรียกชื่อบริเวณความกดอากาศต่ำจะใช้ชื่อเรียกว่า "[[พายุดีเปรสชั่น|ดีเปรสชั่น]]" ({{lang-en|depression}})
 
==สภาพอากาศที่เกี่ยวข้อง==