ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โน้ตดนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: ตามที่จะเปลี่ยนขี้เกียจพิมพ์เเล้ว เครนะ
บรรทัด 89:
| [[ไฟล์:WholeNote.svg|20px|thumbnill]] || โน้ตตัวกลม || 4 จังหวะ
|-
| [[ไฟล์:Figure rythmique blanche hampe haut.svg|7.5px|thumbnill]] || โน้ตตัวขาว || 2 จังหวะ
|-
| [[ไฟล์:Figure rythmique noire hampe haut.svg|7.5px|thumbnill]] || โน้ตตัวดำ || 1 จังหวะ
|-
| [[ไฟล์:Figure_rythmique croche hampe haut.svg|7.5px|thumbnill]] || โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น || ครึ่งจังหวะ
|}
โน้ตตัวกลม ( Whole Note ) 1 ตัว = ตัวขาว 2 ตัว หรือตัวดำ 4 ตัว
 
โน้ตตัวขาว ( Half Note ) 1 ตัว = ตัวดำ 2 ตัว
 
โน้ตตัวดำ ( Quarter Note ) 1 ตัว = ตัวเขบ็ด 1 ชั้น 2 ตัว
 
โน้ตตัวเขบ็ด ( Eight Note ) 1 ตัว = ตัวเขบ็ด 2 ชั้น 2 ตัว
 
== <u>''<big>ความถี่ของโน้ต ==</big>''</u>
 
== ความถี่ของโน้ต ==
ในทางเทคนิค ดนตรีสามารถสร้างขึ้นได้จากโน้ตที่มี[[ความถี่]]ของเสียงใดๆ ก็ได้ เนื่องจากเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุและวัดได้ในหน่วย[[เฮิรตซ์]] (Hz) ซึ่ง 1 เฮิรตซ์เท่ากับการสั่นครบหนึ่งรอบต่อ[[วินาที]] ตั้งแต่สมัยก่อนมีเพียงโน้ตที่มีความถี่คงตัวแค่ 12 เสียงเท่านั้นโดยเฉพาะดนตรีตะวันตก ซึ่งความถี่เสียงคงตัวเหล่านี้มีความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ต่อกัน และถูกนิยามไว้ที่โน้ตตัวกลาง A4 (เสียงลา อ็อกเทฟที่สี่) ซึ่งเป็นสาเหตุที่เสียงลาเริ่มต้นเขียนแทนด้วยอักษร A ปัจจุบันโน้ต A4 มีความถี่อยู่ที่ 440 เฮิรตซ์ (ไม่มีเศษทศนิยม)
 
เส้น 120 ⟶ 128:
ทำให้โน้ต A4 จับคู่อยู่กับโน้ตหมายเลข 69 ในระบบ MIDI และทำให้เติมเต็มช่วงความถี่อื่นๆ ที่ไม่ตรงกับความถี่สากลมาเป็นหมายเลขของโน้ตได้อีกด้วย
 
<br>
<!-- ยังไม่มีบทความ ซ่อนไว้ก่อน
== ดูเพิ่ม ==
* [[ค่าของโน้ต]] (note value) -->
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.folkpeople.com/guitar-chord/ คอร์ดกีตาร์]